ผลกระทบของคุณภาพการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงที่มีต่อผลการดำเนินงาน : กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
การเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยง ผลการดำเนินงาน การบริหารความเสี่ยงบทคัดย่อ
การเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการบริหารความเสี่ยงที่สามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน การวิจัยครั้งนี้จัดเก็บข้อมูลจากบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และถูกจัดอยู่ในดัชนี SET100 ระหว่างปี 2555-2556 จำนวน 174 ชุด ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบค่าเฉลี่ยของจำนวนคำที่รายงานจำนวน 3,670 คำ ดัชนีปริมาณเปรียบเทียบเฉลี่ย 0.2586 ดัชนีความหนาแน่น 0.5919 และดัชนีเชิงลึก 0.9827 จากการทดสอบสมมุติฐานไม่พบว่า คุณภาพการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงมีผลกระทบต่อผลการดำเนินงาน
References
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2555). หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2555 , ค้นเมื่อ 5
กุมภาพันธ์ 2560, จาก ttps://www.set.or.th/sustainable_dev/th/cg/files/2013/CGPrinciple2012Thai-Eng.pdf
ทิตา เตชะธรารักษ์. (2553). การศึกษาเปรียบเทียบข้อกำหนดพื้นฐานในการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
และสหรัฐอเมริกา. การศึกษาอิสระ บัญชีมหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นฤมล สอาดโฉม. (2554). การบริหารความเสี่ยงองค์กร. กรุงเทพ: บัวเงิน.
ปรียานุช อยู่สังข์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างผลการดำเนินงานกับคุณภาพการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงของบริษัทจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฎเพชรบุรีวิจัยเพื่อแผ่นดินไทยที่ยั่งยืนครั้งที่ 5.
พรพิพัฒน์ จูฑา. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงกับผลการดำเนินงาน ทางการเงินของบริษัท
ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัทรพงศ์ เจริญกิจจารุกร. (2556). Sarbanes-Oxley Act และการกำกับดูแลกิจการในต่างประเทศสู่ธรรมาภิบาลในประเทศไทย.
จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 35(138) : 902-119
วิเชษฐ์ โรจนสุกาญจน และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2559). การบัญชีป้องกันความเสี่ยงตามข้อกำหนดใน IFRS9. วารสารวิชาชีพบัญชี,
12(34) : 110-123
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2551). ทฤษฎีบรรษัทภิบาล. วารสารบริหารธุรกิ, 31(120) : 1-4
สายสุนีย์ อโนมาศ. (2555). การเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงในรายงานประจำปีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
กลุ่ม SET100. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2556). คู่มือจัดทำแบบแสดงรายการข้อมูล แบบ 56-1 แบบ 69-1.
กรุงเทพ : สำนักงานคณะกรรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
อัญชลี พิพัฒนเสริญ. (2559). การนำกรอบการบริหารความเสี่ยงไปใช้ในองค์กร. วารสารวิชาชีพบัญชี, 12(33) : 123-133
Beretta, S & Bozzolan, S. (2004). A framework for the analysis of firm risk communication. The International Journal
of Accounting, 39(3) : 265-288.
Best, S.D. (2012). IFRS7 and the Compliance of Risk Disclosures: Are the Risks really Disclosed? Master thesis,
Erasmus University Rotterdam, the Netherlands.
Kongprajya, A. (2010). An analysis of the impact of political news on Thai stock market. Master of Science in Risk
Management thesis, University of Nottingham, UK.
Lam, J. (2003). Enterprise Risk Management: From Incentives to Controls. John Wiley & Sons Inc.
Pasternak, Y. (2011). IFRS7 Risk Disclosures, Master of Accounting Auditing and Control. Erasmus University
Rotterdam, the Netherlands.
Razek, M.A. (2014). The Association Between Corporate Risk Disclosure and Firm Performance in Emerging
Country-The Case of Egypt, Journal of Empirical Studies. 1( 3) : 105-115.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว