Relationship between Continuing Professional Development and Work Success of Accountants: The Case Study of Textile and Garment Business in Thailand

Authors

  • อรณี ศรีคำมูล
  • นภาภรณ์ พลนิกรกิจ
  • อุเทน เลานำทา

Keywords:

การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ ความสำเร็จในการทำงาน นักบัญชีธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ในประเทศไทย

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
กับความสำเร็จในการทำงานของนักบัญชี : กรณีนักบัญชีที่ทำงานอยู่ในธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในประเทศไทย
โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักบัญชีธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในประเทศไทย จำนวน 109 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ ด้านความรู้เกี่ยวกับการบัญชี การเงิน และความรู้ที่เกี่ยวข้อง และด้านความรู้เกี่ยวกับธุรกิจและองค์กร มีความสัมพันธ์
และผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในการทำงานโดยรวม ดังนั้น นักบัญชีธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในประเทศไทย ควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความชำนาญและเชี่ยวชาญในวิชาชีพ
เพื่อให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน

References

กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2558). ข้อมูลโรงงาน – ค้นหาโรงงานอุตสาหกรรม.
สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2558. จาก <www. diw.go.th>

การดี เลียวไพโรจน์, และภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช. (2558). แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
รายสาขาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม. สำนักงานส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.
สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2558. จาก <www.sme.go.th>

ชัยนรินทร์ วีระสถาวณิชย์. International Education standards (IES). (2548). สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
รับอนุญาตแห่งประเทศไทย, 1(4) : 1

ณัฐชา วัฒนวิไล, และจุฑามน สิทธิผลวนิชกุล. (ก.ค.-ก.ย. 2555). การพัฒนาศักยภาพวิชาชีพบัญชีไทยเมื่อเปิดเสรี
ทางเศรษฐกิจ. วารสารนักบริหาร. 32(4) : 16 – 25.

นิติยา งามแดน. (2552). หลักการบัญชีขั้นต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นิสา แจ่มใส. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชี่ยวชาญทางการบัญชีกับผลการปฏิบัติงานของนักบัญชี
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณะสุขในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม
: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

บูรชัย ศิริมหาสาคร. (2550). จัดการความรู้ สู่ความเป็นเลิศ : มุขบริหารสู่ความเป็นผู้นำ เล่ม 3. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

มณทิรา ตาเมือง. (2557). ภาษา สังคมและวัฒนธรรม : อาเซียนศึกษาเพื่อการปรับตัวและการพัฒนา. พิษณุโลก :
การพิมพ์ดอทคอม.

ลลิตา แว่นแก้ว. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติทางการบัญชีที่ดีกับคุณภาพการทํางานของผู้ทําบัญชี
ในจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี.
ฉบับที่ 2 เนื้อหาของโปรแกรมการศึกษาทางวิชาชีพบัญชี. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
จาก < http://www.fap.or.th >

สมใจ ลักษณะ. (2552). การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน. กรุงเทพฯ : คณะการวิทยาการจัดการ
สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.

สุพานี สฤษฎ์วานิช.(2549) พฤติกรรมองค์กรสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : การบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สุวัจณีย์ จันทนา. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ทางการบัญชีกับความสำเร็จในงานของนักบัญชีสหกรณ์
การเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. 5(1), 214-222.

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2558). รายงานสถานการณ์ธุรกิจสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
ปี 2558. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2558. จาก <www.oie.go.th>

อโนชา สุวรรณสาร. (2554). ผลกระทบของคุณลักษณะองค์กรที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของสำนักงาน
บัญชีในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เอื้อมพร บัวสรวง. (2551). รูปแบบภาวะผู้นาและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของพนักงานอัยการในสานักงานอัยการเขต 5.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Aaker, D.A., Kumar, V. & G.S. Day. (2001). Marketing research (7th ed.) New York : John Wiley & Sons.
Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision making. (4th ed). New York : John Wiley
& Sons.

Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data
analysis. (6th ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Nunnally, Jum C. (1978). Phychometric theory. 2nd ed. New York : McGraw Hill.

Downloads

Published

07-10-2019

How to Cite

ศรีคำมูล อ., พลนิกรกิจ น., & เลานำทา อ. (2019). Relationship between Continuing Professional Development and Work Success of Accountants: The Case Study of Textile and Garment Business in Thailand. Journal of Accountancy and Management, 11(1), 91–102. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/220124

Issue

Section

Research Articles