A Causal Model of Savings Behavior of Nurses in Private Hospitals Group in Bangkok Metropolis

Authors

  • ปิ่นกนก วงศ์ปิ่นเพ็ชร์
  • วรรณกร คำแฝง
  • มานพ ชูนิล

Keywords:

พฤติกรรมการออม, เจตคติต่อการออม, การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงต่อการออม, การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการออม, ความเครียดทางการเงินในที่ทำงาน

Abstract

   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการออมของพยาบาลในกลุ่มโรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร และเพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมการออมของพยาบาลในกลุ่มโรพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลในโรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร พื้นที่ในการจัดเก็บ คือ กรุงเทพมหานคร จำนวน 503 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงการ ผลการวิจัยพบว่า ระดับพฤติกรรมการออมของพยาบาลในกลุ่มโรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับปานกลาง และผลการวิเคราะห์โมเดลคามสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเหตุและผลที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงและพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้อง กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Chi-square=7.16,p-value=.07,df=3, GFI=.99, AGFI=.95, RMR=.03, RMSEA=.05) ประกอบด้วยปัจจัยการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงต่อการออม และปัจจัยการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม การออมมีอิทธิพลทางต่อพฤติกรรมการออมของพยาบาลอย่างมีัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และปัจจัยพฤติกรรมการออมของพยาบาลมีอิทธิพลทางตรงต่อปจัจัยความเครียดทางการเงินในที่ทำงานของพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยปัจจัยเชิงสาเหตุทั้งสามปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยเจตคติต่อการออม การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงต่อการออม และปัจจัยการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการออม ร่วมกับอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการออรมของพยาบาลได้ร้อยละ 49.4 และปัจจัยเชิงสาเหตุทั้งสามปัจจัย และพฤติกรรมการของพยาบาลกันอธิบายความแปรปรวนของความเครียดทาการเงินในที่ทำงานของพยาบาลได้ร้อยละ 0.4

References

กองการพยาบาล. (2544). การประกันคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล : งานบริการพยาบาลผู้ป่วยใน.
กรุงเทพ: สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ:
บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยดา สมบัติวัฒนา. (2550). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการออมของนิสิตปริญญาตรี โครงการบริหารธุรกิจ ภาคสมทบ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์, สุภมาส อังศุโชติ และอัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2550). สถิติสำหรับการวิจัยและเทคนิคการใช้SPSS. กรุงเทพฯ:
บริษัท มิสชั่น มีเดีย จำกัด.

วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2556). กลยุทธ์ในการเปลี่ยนพฤติกรรมการออมและการลงทุนของคน วัย 20-29 ปี สู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์.
วารสารบริหารธุรกิจ, 36(137), 24-37.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2544). ทฤษฎีการทดสอบดั้งเดิม (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลตำรวจ จำกัด. (2558). จำนวนสมาชิก และทุนดำเนินงาน เปรียบเทียบระหว่างปี 2553-2557. สืบค้น
วันที่ 15 ตุลาคม 2558, จาก http://www.policehospital-oop.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538987761

เสรี ชัดแช้ม. (2547). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. วารสารวิจัยและวัดผลการศึกษา, 2(1), 15 – 42.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2553). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11.
กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2554). รายชื่อสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้
ค้างคืน (โรงพยาบาล และสถานพยาบาล). สืบค้นวันที่ 17 กรกฎาคม 2559, จาก http://mrd-hss.moph.go.th.

Ajzen, I. (1985). From Intentions to Actions : A Theory of Planned Behavior. Action-control : From Cognition to Behavior.
11-39. Edited by Kuhl & J. Beckman. Heidelberg, Germany : Springer.

อ้างถึงใน อติราช เกิดทอง. (2552). การวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ตาม
แนวทางทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนและผลกระทบจากการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
สังกัด กรุงเทพมหานคร (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อ้างถึงใน อติราช เกิดทอง. (1988). Attitudes, Personality and Behavior. Chicago : Open University Press.

อ้างถึงใน อติราช เกิดทอง. (1991). The Theory of Planned Behavior. Organizational Behavior and Human Decision
Processes, 50, 179-211.

อ้างถึงใน อติราช เกิดทอง. (2552). การวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ตามแนวทางทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน และผลกระทบจากการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด กรุงเทพมหานคร (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อ้างถึงใน อติราช เกิดทอง. (2002a). Constructing a TpB Questionnaire : Conceptual and Methodological Considerations.
Retrieved Sep 1, 2015, from http://socgeo.ruhosting.nl/html/files/spatbeh/tpb.measurement.pdf

อ้างถึงใน อติราช เกิดทอง.(2002b). Perceived Behavioral Control, Self-efficacy, Locus of Control, and the Theory of
Planned behavior. Journal of Applied Social Psychology, 32, 665-683.

อ้างถึงใน อติราช เกิดทอง.(2006a) Constructing a Theory of Planned Behavior Questionnaire. Retrieved Sep 1, 2015, from
http://people.umass.edu/aizen/tpb.html

อ้างถึงใน อติราช เกิดทอง. (2006b) Behavioral Interventions Based on Theory of Planned Behavior. Retrieved Sep 1,
2015, from http://people.umass.edu/aizen/tpb.html

Bandura, A., Adams, N. E., & Beyer, J. (1977). Cognitive processes mediating behavioral change. Journal of
Personality and Social Psychology, 35(125), 139.

Bandura, A., Adams, N. E., Hardy, A. B., & Howells, G. N. (1980). Tests of the generality of self-efficacy
theory. Cognitive Therapy and Research, 4(39), 66.

Brown, R. (1999). Financially-troubled employees and threats of violence impact the workplace. Personal
Finances and Worker Productivity, 3(1), 38-47.

Byrne, B. M. (2001). Structural equation modeling with AMOS: Basic concepts, applications, and programming.
Mahwah, NJ: Erlbaum.

Comrey, A. L & Lee, H. B. (1992). A First Course in Factor Analysis (2nd ed.). Hillsdale, New Jersey:
Lawrence Erlbaum Associates.

Diamantopous, A., & Siguaw, J. D. (2000). Introducing lisrel: A Guide for the Uninitiated. Thousan Oaks. CA: Sage.

Garman, E. T. (2002). Financial Stress and Workplace Performance:Developing Employer-Credit Union Partnerships.
USA: Filene Research Institute.

Garman, E. T., Kim, J., Kratzer, C. Y., Brunson, B. H., & Joo, S. (1999). Workplace financial education improves
personal financial wellness. Financial Counseling and Planning, 10(1), 79-88.

Garman, E. T., Leech, I. E., & Grable, J. E. (1996). The negative impact of employee poor personal financial behaviors
on employers. Financial Counseling and Planning, 7, 157-168.

Griffith, L. and Gilroy, T. (1997). Scope and Impact of Personal Financial Management Difficulties of Service Members
on the Department of the Navy. DTIC Online Military Technical Report. n.p.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis. Seventh Edition.
Prentice Hall, Upper Saddle River, New Jersey.

Homan, A. M. (2016). The Influence of Parental Financial Teaching on Saving and Borrowing Behavior
(Research report). Netherlands: University of Groningen.

Kim, J. (2004). Impact of a workplace financial education program on financial attitude, financial behavior, financial
well-being, and financial knowledge. Proceedings of the Association for Financial Counseling and Planning
Education. n.p.

Peirce, R. S., Frone, M. R., Russell, M., & Cooper, M. L. (1996). Financial stress, social support, and alcohol
involvement: a longitudinal test of the buffering hypothesis in a general population survey. Health Psychology,
15 (1), 38-47.

Xiao, J. J. (2008). Applying Behavior Theories to Financial Behavior. Research gate. n.p.

Xiao, J. J., & Wu, J. (2006). Applying the theory of planned behavior to retain credit counseling clients.
Proceedings of the Association for Financial Counseling and Planning Education. n.p.

Downloads

Published

20-08-2019

How to Cite

วงศ์ปิ่นเพ็ชร์ ป., คำแฝง ว., & ชูนิล ม. (2019). A Causal Model of Savings Behavior of Nurses in Private Hospitals Group in Bangkok Metropolis. Journal of Accountancy and Management, 11(1), 53–66. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/210078

Issue

Section

Research Articles