Determinants of Audit Fees for Companies Listed on the Market for Alternative Investment

Authors

  • ยุวธิดา กันธวัง
  • มนทิพย์ ตั้งเอกจิต
  • สุวรรณา เลาหะวิสุทธิ์

Keywords:

การสอบบัญชี

Abstract

     การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยกำหนดค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ มุ่งเน้นตัวแปร อันได้แก่ ขนาดของบริษัท ความซับซ้อนของบริษัท สภพคล่องของบริษัท ความสามารถในการทำกำไรขอบริษัท ความเสี่ยงของบริษัท สัดส่วนค่าบริการที่นอกเหนือจากการสอบบัญชีของบริษัท ระยะเวลาที่ใช้ในการออกรายงานของการสอบบัญชีของบริษัท ผลประเมินการกำกับดูแลกิจการที่ดี รูปแบบของรายงานผู้สอบบัญชี และประเภทของสำนักงานสอบบัญชีของบริษัท เพื่อพิจารณาอิทธิพลที่มีต่อค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีในระหว่างปี พ.ศ.2556-2559 รวม 352 ข้อมูล แล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้สมการถดถอยแบบพนุคูณ การศึกษาพบว่าค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีส่วนใหญ่มีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปี และพบว่าความซับซ้อนของบริษัท ระยะเวลาที่ใช้ในการออกรายงานการสอบบัญชีของบริษัท และประเภทของสำนักงานสอบบัญชีของบริษัทมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกกับค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 หรือ ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 99 และพบว่า ขนาดของบริษัทมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกกับค่าธรรมเนียมการสอบบัญชอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 หรือ ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 การศึกษานี้จึงเป็นประโยช์่อบริษัทจดทะเบียนในการวางแผนงบประมาณค่าธรรมเนียมการสอบบัญชี และเป็นประโยชน์ต่อผู้สอบบัญชีในการกำหนดค่าธรรมเนียมการสอบบัญชี

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2556). สถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือแห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จันทร์เพ็ญ ธงไชย และคณะ. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อค่าธรรมเนียมการตรวจสอบบัญชี. จุฬาลงกรณ์วารสาร. 21(83), 15-32.

ดวงกมล โฆชพันธ์. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่องานตรวจสอบภายในกับการกำหนดค่าธรรมเนียมการสอบบัญชี.
(วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

มรุกัญญา เปี่ยมพราย. (2551). ปัจจัยในการกำหนดค่าธรรมเนียมสอบบัญชี กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทย. (การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา).

วลัยพร สวัสดิ์มงคล. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีของบริษัทในกลุ่ม SET100 ที่จดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2553). ข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี เรื่อง จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553.
ค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2559, จาก http://www.fap.or.th

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). มาตรฐานการสอบบัญชีรหัส 200 เรื่องวัตถุประสงค์และหลักการพื้นฐานของการสอบ
บัญชี. ค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2559, จาก http://www.fap.or.th

สุวดี สัตยารักษ์วิทย์ และอัญชลี พิพัฒนเสริญ. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการกับระยะเวลาที่ใช้ในการออก
รายงานการสอบบัญชี. วารสารวิชาชีพบัญชี. 8(22), 65-81.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2555). ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบ
บัญชีในการบรรยายเรื่องข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ
กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2559). ข้อมูลงบการเงินของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ไทย.
ค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2559, จาก www.sec.or.th

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2559). คุณสมบัติของผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบ.
ค้นเมื่อ 4 กันยายน 2560, จาก www.sec.or.th

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2559). ตารางประเภทและระยะเวลาส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงิน
และผลการดำเนินงาน. ค้นเมื่อ 4 กันยายน 2560, จาก www.sec.or.th

หลักเกณฑ์การสำรวจโครงการสำรวจการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย. (2559). ค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2559,
จาก www.thai-iod.com

อังคณา วานนท์วงศ์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของกรรมการบริษัทกับค่าสอบบัญชี.
(การค้นคว้าแบบอิสระ บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

Bedard, J. C. & Johnstone, K. M. (2010). Audit Partner Tenure and Audit Planning and Pricing. American Accounting
Association. A Journal of Practice &Theory, 29(2), 45-70.

Besacier, N. G. & Schatt, A. (2007). Determinants of audit fees for French quoted firms. Managerial Auditing Journal,
22(2), 139-160.

Bortolon, P. M., Neto, A. S. & Santos, T. B. (2013). Audit Costs and Corporate Governance. Revista Contabilidade &
Finanças. 24, (61).

Castro, W. B., Peleias, I. R. & Silva, G. P. (2014). Determinants of Audit Fees: a Study in the Companies Listed on the
BM& FBOVESPA, Brazil. Revista Contabilidade & Finanças, 26(September), 69.

Cohen, J., & Hanno D. (2000). Auditors’ consideration of corporate governance and management control philosophy in
preplanning and panning judgements. Auditing: A Journal of Practice & Theory 19, 133-146.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., Anderson, R.E. and Tatham, R.L. (2006) Multivariate Data Analysis. (6th ed.).
Pearson Prentice Hall, Upper Saddle River.

Hassan, Y. M. & Naser, K. (2013). Determinants of Audit Fees: Empirical Evidence From An Emerging Economy.
International Business Research, 6(8), 13-25.

Hassan, Y. M. & Naser, K. (2016). Factors influencing external audit fees of companies listed on Dubai Financial
Market. International Journal of Islamic and Middle Eastern Finance and Management, 9(3), 346-363.

Palmrose, Z., V. (1986). Audit Fees and Auditor Size: Further Evidence. Journal of Accounting Research, 24(4), 97-110.

Pong, C. K. M. (2004). A descriptive analysis of audit price changes in the UK 1991–95. European Accounting Review,
13(1), 161-17.

Rusmanto, T. & Waworuntu, S. R. (2015). Factors influencing audit fee in Indonesian Publicly Listed Companies
applying GCG. Procedia Social and Behavioral Sciences, 172, 63-67.

Simunic, D. A. (1980). The Pricing of Audit Service: Theory and Evidence. Journal of Accounting Research, 18,
161-189.

Downloads

Published

20-08-2019

How to Cite

กันธวัง ย., ตั้งเอกจิต ม., & เลาหะวิสุทธิ์ ส. (2019). Determinants of Audit Fees for Companies Listed on the Market for Alternative Investment. Journal of Accountancy and Management, 11(1), 22–36. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/210054

Issue

Section

Research Articles