การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันความมีอิสระแห่งตนของนิสิตวิชาชีพครู
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันความมีอิสระแห่งตนของนิสิตวิชาชีพครู กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวน 316 คน ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความมีอิสระแห่งตน มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.23-0.59 มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า โมเดลการวัดความมีอิสระแห่งตนของนิสิตวิชาชีพครู มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (=1.22 df=1 p=.26 GFI=1.00 AGFI=0.98 CFI=1.00 RMSEA=0.02 SRMR=0.00) การรู้จักหน้าที่ของตนเองมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบสูงสุด รองลงมา คือ การคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง และการควบคุมอารมณ์ ตามลำดับ
Article Details
References
เกศรินทร์ บริบูรณ์. (2559). การศึกษาองค์ประกอบพลังอำนาจแห่งตนของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัย และพัฒนาศักยภาพมนุษย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชมพูนุท ร่วมชาติ. (2548). อนาคตของหลักสูตรวิชาชีพครูในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2550-2559). ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัย และพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พูลพงศ์ สุขสว่าง. (2556). โมเดลสมการโครงสร้าง. กรุงเทพฯ: วัฒนาพาณิช.
มานี แสงหิรัญและคณะ. (2551). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุแบบพหุระดับของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการผลิตครู. วารสารวิจัยและวัดผลการศึกษา. 6(1), 75.
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2549). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สนติ บุญภิรมย์. (2557). การบริหารจัดการในชั้นเรียน (Classroom Management). กรุงเทพฯ: ทริปเปิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2544). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสรี ใหม่จันทร์. (2553). การวิเคราะห์องค์ประกอบและการเสริมสร้างอิสระแห่งตนของนักเรียนวัยรุ่นโดยการให้คำปรึกษากลุ่ม.ปริญญานิพนธ์ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ฤตินันท์ สมุทร์ทัย. (2556). การวิจัยนำร่องการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครูสำหรับศตวรรษที่ 21. รายงานการวิจัย. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Beckert, Troy E. (2005). Cognitive Autonomy and Self-Evaluation in Adolescence: A Conceptual. Investigation and Instrument Development. 9, 586.
Black, A.E, & Deci, E.L. (2000). The Effects of instructor’s Autonomy Support and Student’ Autonomous Motivation on Learning Organic Chemistry: A self-Determination Theory Perspective.Science Education. 84, 747.
Dworkin, Gerald. (1988). The Theory and Practice of Autonomy. Cambridge: Cambridge University Press.
Franken. (2001). Identity and Cultural Memory in the Fiction of A. S. Byatt. England: Palgrave Macmillan.
Noom, Marc. (1999). Adolescent Autonomy: Characteristics and Correlates. Delft: Eburon Publishers.
Noom, Marc J., Dekovic, Maja; & Meeus, Wim. (2001). Conceptual Analysis and Measurement of Adolescent Autonomy. Journal of Youth and Adolescence. 30, 588-590. (October).
Russel, Stephen; & Bakken, Rosalie J. (2002). Development of Autonomy in Adolescence. University of Nebraska: NebGuide.
Ryan, Richard. M. (1991). The Nature of the Self in Autonomy and Relatedness. In G. R. Goethals; & J. Strauss (Eds.), Multidisciplinary perspectives on the self. New York: Springer-Verlag.
Sheldon, Kennon M. (1995). Creativity and Self-Determination in Personality. Creativity Research Journal. 8, 27.
Williams, G.C & Deci, E.L. (1996). Internalization of Biopsychosocial Values by Medical Student: A Test of Self-Determination Theory. Journal Personality and Social Psychology. 70, 767.