วิเคราะห์สัมมัปปธาน 4 เพื่อการบรรลุธรรม

Main Article Content

พระสุจินตนินท หนูชูสีห์สกุล

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “แนวทางการเจริญสัมมัปปธาน 4 ในโพธิปักขิยธรรมเพื่อการบรรลุธรรม” มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สัมมัปปธาน 4 เพื่อการบรรลุธรรมกล่าวคือ  1. วิเคราะห์สังวรปธานคือ เพียรระวังยับยั้งบาปที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้น การทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตตั้งมั่นสามารถบรรลุธรรมได้ 4 อย่างคือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตมรรค 2. วิเคราะห์ปหานปธาน คือ เพียรละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว การทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตตั้งมั่นสามารถบรรลุธรรลุธรรมได้ 4 ย่างคือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรคและอรหัตมรรค 3. วิเคราะห์ภาวนาปธาน คือ เพียรทำกุศลที่ยังไม่เกิดให้ขึ้นสามารถบรรลุธรรมได้ 4 อย่างคือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตมรรค 4. วิเคราะห์อนุรักขนาปธานคือ เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้ตั้งมั่นมิให้เสื่อมและ เจริญยิ่งขึ้นไป สามารถบรรลุธรรมได้ 4 อย่างคือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตมรรค

Article Details

How to Cite
หนูชูสีห์สกุล พ. . (2025). วิเคราะห์สัมมัปปธาน 4 เพื่อการบรรลุธรรม. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 7(1), 149–158. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jemri/article/view/275519
บท
บทความวิชาการ

References

พระคันธสาราภิวงศ์. (2549). โพธิปักขิยธรรม. กรุงเทพฯ: บุญศิริการพิมพ์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. (พิมพ์ครั้งที่ 39). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ. (2550). โพธิปักขิยธรรมประยุกต์. กรุงเทพฯ: ตถาคตา พับลิเคชั่น.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2552). อรรถกถาภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 41). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.

สุภีร์ ทุมทอง. (2559). สัมมัปปธาน 4 อิทธิบาท 4. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.