นวัตกรรมสีเขียว การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความได้เปรียบทางการแข่งขันและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียที่มีต่อผลการดำเนินงานอย่างยั่งยืนของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษานวัตกรรมสีเขียว การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความได้เปรียบทางการแข่งขัน การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และผลการดำเนินงานอย่างยั่งยืนของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง และ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลนวัตกรรมสีเขียว การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียที่มีต่อผลการดำเนินงานอย่างยั่งยืนของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 385 ราย ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า นวัตกรรมสีเขียว การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความได้เปรียบทางการแข่งขัน และผลการดำเนินงานอย่างยั่งยืนอยู่ในระดับมากที่สุด การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียอยู่ในระดับมาก และความได้เปรียบทางการแข่งขันส่งผลต่อผลการดำเนินงานอย่างยั่งยืนมากที่สุด รองลงมา คือ นวัตกรรมสีเขียวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งสามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานอย่างยั่งยืนได้ถูกต้อง ร้อยละ 87.70
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2566). จำนวนการจดทะเบียนเลิกกิจการ ปี 2565. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2567, จาก https://openapi.dbd.go.th/juristic_person/dissolution/Dissolution2565.csv
กุลธีรา ทองใหญ่ และ วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์. (2566). อิทธิพลของภาวะผู้นำแบบผู้ประกอบการต่อผลการดำเนินงานด้านการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม: บทบาทของตัวแปรคั่นกลางทุนทางปัญญาและความพึงพอใจของลูกค้า. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 15(1), 101-127.
ธนพล ก่อฐานะ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยงกับผลการดําเนินงานแบบสมดุลของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 14(3), 106-115.
ปรียาพรรณ พุ่มระหงส์. (2563). นวัตกรรมการจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จในองค์กรธุรกิจ. วารสารรามคำแหงฉบับมนุษยศาสตร์, 3(2), 105-124.
รัชชานนท์ ทวีผล. (2567). การจัดการสิ่งแวดล้อมและการวางแผนกลยุทธ์การตลาดจากมุมมองของลูกค้า (4C): กรณีศึกษากลุ่มโรงแรมสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 19(68), 52–63.
วิจิตรา จำลองราษฎร์. (2561). การวิจัยธุรกิจทางการเงินและการบัญชี. กรุงเทพฯ: ท้อป.
วัชระ เวชประสิทธิ์. (2564). รูปแบบกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์สีเขียวที่ส่งผลต่อผลดำเนินงานอย่างยั่งยืนของสถานประกอบการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ ศรีนครินทรวิโรฒ, 12(1), 57-79.
วรรณิดา สารีคำ, จักเรศ เมตตะธารงค์ และ จันทิมา พรหมเกษ. (2564). การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันด้วยการจัดการโซ่อุปทานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวิสาหกิจชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(3), 70-87.
สานิตย์ หนูนิล.(2561). กลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการเกษตรอัจฉริยะ.วารสารนักบริหาร, 38(1), 37-45.
สุกานดา กลิ่นขจร. (2561). การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมสีเขียว และผลการดำเนินงานอย่างยั่งยืน: บทบาทของความได้เปรียบทางการแข่งขัน. วารสารบริหารธุรกิจ, 42(161), 19-36.
สุกานดา กลิ่นขจร (2564). บทบาทการปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมและความได้เปรียบทางการแข่งขันที่มีต่อผลการ ดำเนินงานของอุตสาหกรรมในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 14(2), 20-34.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2563). คู่มือจัดทำแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี/รายงานประจำปี แบบ 56-1 One Report แบบ 69-1. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2567, จากhttps://publish.sec.or.th/nrs/8619s.pdf.
สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2566). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเดือนธันวาคม 2566. สืบค้นเมื่อ 21 มกราคม 2567, จาก https://www.sme.go.th/th/download. php?modulekey=215&cid=524
อัจฉรา สุขกลั่น, เกษราภรณ์ สุตตาพงค์ และ นนทิภัค เพียรโรจน์. (2561). กลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการ แข่งขันของผู้ประกอบการเกษตรอัจฉริยะ. วารสารนักบริหาร, 38(1), 91-100.
Barnard, C. I. (1968). Functions of the Executive: Thirtieth Anniversary Edition. Massachusetts: Harvard University Press.
Basana, S. R., Suprapto, W., Andreani, F., & Tarigan, Z. J. H. (2022). The Impact of Supply Chain Practice on Green Hotel Performance Through Internal, Upstream, and Downstream Integration. Uncertain Supply Chain Management, 10(1), 169-180.
Brundtland, G. H. (1987). Report of the World Commission on Environment and Development: Our Common Future. Retrieved January 27, 2024, from https://www.are.admin.ch/are/en/home/media/publications/ sustainable-development/brundtland-report.html
Chan, R. Y., He, H., Chan, H. K., & Wang, W. Y. (2012). Environmental Orientation and Corporate Performance: The Mediation Mechanism of Green Supply Chain Management and Moderating Effect of Competitive Intensity. Industrial Marketing Management, 41(4), 621-630.
Chen, Y. S., Lai, S. B., & Wen, C. T. (2006). The Influence of Green Innovation Performance on Corporate Advantage in Taiwan. Journal of Business Ethics, 67(4), 331-339.
Chen, Y. S. (2008). The Positive Effect of Green Intellectual Capital on Competitive Advantages of Firms. Journal of Business Ethics, 77(3), 271-286.
Chien, F., Kamran, H. W., Nawaz, M. A., Thach, N. N., Long, P. D., & Baloch, Z. A. (2022). Assessing the Prioritization of Barriers Toward Green Innovation: Small and Medium Enterprises Nexus. Environment, Development and Sustainability, 24, 1897–1927.
Christmann, P. (2000). Effects of “Best Practices” of Environmental Management on Cost Advantage: The Role of Complementary Assets. Academy of Management, 84, 606–619.
Elkington, J. (1998). Accounting For the Triple Bottom Line. Measuring Business Excellence, 2(3), 18–22
Freeman R. E. (1984). Strategic Management: A Stakeholder Approach. Massachusetts: Pitman.
Fussler, C. & James, P. (1996). A Breakthrough Discipline for Innovation and Sustainability. London: Pitman.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate Data Analysis. New Jersey: Pearson Education.
Healy, P., Serafeim, G., Srinivasan, S., & Yu, G. (2014). Market Competition, Earnings Management, and Persistence in Accounting Profitability Around the World. Review of Accounting Studies, 19, 1281-1308.
Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (2004). Measuring The Strategic Readiness of Intangible Assets. Harvard Business Review, 82(2), 52-63.
Likert, R., Seashore, S. E., Peter, H. W., Lesser, S. O., Bourne, F. S., Morrissett, I., & Hayes, S. P. (1957). Some Applications of Behavioral Research. Paris: UNESCO.
Morsing, M., & Schultz, M. (2006). Corporate Social Responsibility Communication: Stakeholder Information, Response and Involvement Strategies. Business Ethics: A European Review, 15(4), 323-338.
Osorio, L. R., Lobato, M. O., & Castillo, X. D. (2005). Debates on Sustainable Development: Towards A Holistic View of Reality. Environment, Development and Sustainability, 7(4), 501-518.
Ogachi, R. C., & Kariuki, P. (2020). Influence of Stakeholders Engagement on Performance of Commercial Banks in Kenya. International Journal of Management and Commerce Innovations, 8(1), 95-102.
Porter, M. E. (1980). Competitive Strategy: Techniques For Analyzing Industries and Competitors. New York: The Free Press.
Rustiarini, N. W., Bhegawati, D. S., & Mendra, N. Y. (2022). Does Green Innovation Improve SME Performance? Economies, 10(12), 316.
Uysal, F. (2012). An Integrated Model for Sustainable Performance Measurement in Supply Chain. Journal of Social and Behavioral Sciences, 62, 689–694.
Xie, X., Huo, J., & Zou, H. (2019). Green Process Innovation, Green Product Innovation, and Corporate Financial Performance: A Content Analysis Method. Journal of Business Research, 101, 697-706.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed.). New York: Harper & Row.