การนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
รัฐบาลมีเป้าหมายในการพัฒนาประเทศภายใต้นโยบายประเทศไทย 4.0 เพื่อขับเคลื่อนประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนทุกมิติ รวมทั้งเตรียมความพร้อมด้านกำลังคนและเสริมสร้างศักยภาพประชากรในทุกช่วงวัยให้เป็นทุนมนุษย์ที่มีศักยภาพสูงของประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาเด็กและเยาวชนเริ่มตั้งแต่เด็กปฐมวัย กรุงเทพมหานครจัดการศึกษาครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายโดยกำหนดเข็มทิศในการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้สอดรับกับเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goal, SDGs) พ.ศ. 2559-2573 ในเป้าหมายที่ 4 ที่ว่าด้วยการสร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ ตลอดชีวิต สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการพัฒนา และการดูแลในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ การนิเทศการศึกษาจึงเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาปฐมวัยเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่มุ่งเน้นคุณภาพของเด็กปฐมวัย โดยมีกระบวนการ ดำเนินงานอย่างเป็นขั้นตอน อย่างเป็นระบบต่อเนื่อง และเป็นลำดับขั้นตอนที่ชัดเจนดังนี้ 1) เตรียมการนิเทศ 2) วางแผนการนิเทศระหว่างผู้รับการนิเทศกับผู้นิเทศ 3) ปฏิบัติการนิเทศ 4) ประเมินผลการนิเทศสะท้อนเพื่อพัฒนา 5) ปรับปรุงแก้ไขและรายงานผลการนิเทศ 6) การสร้างเสริมขวัญและกำลังใจ เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย ให้เกิดประสิทธิผลครอบคลุม พัฒนาการสมวัยทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ตามที่สถานศึกษากำหนดและ สอดคล้องกับนโยบายการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้นต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
เก็จกนก เอื้อวงศ์. (2564). หน่วยที่ 1 ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา ใน ประมวลสาระชุดวิชาการ พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1-5. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ขวัญจิรา จำปา, สุวดี อุปปินใจ, ไพรภ รัตนชูวงศ์, พูนชัย ยาวิราช. (2566). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพของชุมชน. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 430-447.
จุฬาพร พลรักษ์, นิราศ จันทรจิตร และ พิจิตรา ธงพานิช. (2566). รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เสริมสร้างความสามารถการแก้ปัญหาและการคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัย. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(2), 865-884.
ฐิติมา วรรณศรี. (2563). นวัตกรรมสู่การพัฒนาสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รัตนสุวรรณการพิมพ์.
ทิพย์วรรณ สุพิเพชร. (2566). นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อการศึกษาในอนาคต. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 5(2), 471-480.
ทิพวรรณ ถาวรโชติ. (2564). รูปแบบการนิเทศด้วยเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (ดุษฎีนิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ปรียานุช ธรรมปิยา. (2562). สืบสานสู่ปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ปรียานุช ธะนะฉัน, นิพนธ์ วรรณเวช และ สาโรจน์ เผ่าวงศากุล. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 5(1), 1-12.
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554. (2554). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 128 ตอนที่ 42 ก หน้า 1 (27 พฤษภาคม 2554).
ยุวดี พงษ์สาระนันทกุล, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, อาภาวรรณ หนูคง และ ลัดดาวัลย์ ทรัพย์เจริญมาก. (2564). รูปแบบการพัฒนาคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนแห่งหนึ่งสังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(3), 91-105.
วชิรา เครือคำอ้าย. (2558). ตำราการนิเทศการศึกษา. เชียงใหม่: ส.การพิมพ์.
สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. (2563). รายงานสรุปผลแผนปฏิบัติราชการหน่วยศึกษานิเทศก์. กรุงเทพฯ: สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). ศาสตร์ และ ศิลป์ในการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานยุทธศาสตร์การศึกษา. (2563). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2564-2569). กรุงเทพฯ: ส่วนนโยบายและแผนการศึกษา กรุงเทพมหานคร .
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ 2562. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2566, จาก http//nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2023/06/NS_PlanOct 2018.pdf
David, J. L. (2006). Learning to Learn the Skill and Will of College Success. London: Pearson Education.
Department for Education and Skills. (2007). Practice Guidance for the Early Years Foundation Stage. London: DfES.
Epstein, A. S. (2018). The Intentional Teacher Choosing the Best Strategies for Young Children's Learning. Washington D.C.: National Association for the Education of Young Children.
Glickman, C. D. (1985). Supervision of instruction a developmental approach. Boston: Allyn and Bacon.
Glickman, C. D. (2001). Leadership For Learning How to Help Teachers Succeed. Alexandria: Association for Supervision and Curriculum Development.
Glickman, C. D., Gordon, S. P., & Ross-Gordon, J. M. (2013). Supervision and Instructional Leadership A Developmental Approach. London: Pearson Education.
Harris, B. M. (1985). Early Childhood Education A Constructivist Perspective. New York: Teachers College Press.
Katz, L. G. (2015). Intellectual and Academic Outcomes. In Handbook of Early Childhood Development Research and Its Impact on Global Policy. Oxford: Oxford University Press.
Kume, H. (2019). Trust-Based School Leadership Perspectives from Teachers and Administrators in Japan. Journal of Educational Administration and History, 51(1), 1-15.
Ministry of Education of Thailand. (2020). Early Childhood Education Curriculum B.E. 2563 (A.D. 2020). Retrieved June 25, 2023, from http//www.acad.go.th/elearn/files/ek2_0.pdf
National Association for the Education of Young Children. (2020). Early Learning Standards and Guidelines Prekindergarten Through Third Grade. Washington, D.C.: NAEYC.
Nutbrown, C. (2014). Key Concepts in Early Childhood Education and Care. London: Sage.
OECD. (2001). Starting Strong Early Childhood Education and Care. Paris: OECD Publishing.
OECD. (2012). Better Skills, Better Jobs, Better Lives A Strategic Approach to Skills Policies. Paris: OECD Publishing.
OECD. (2021). Starting Strong Curricula and Pedagogies in Early Childhood Education and Care. Retrieved June 25, 2023, from https//www.oecd.org/education/school/starting-strong-curricula-and-pedagogies-in-early-childhood-education-and-care-9789264070238-en.htm
Puckett, M. B., & Black, J. B. (2018). Digital Play Computer Games and Language Aims in the Second Language Classroom. Oxfordshire: Routledge.
Siraj-Blatchford, I., & Siraj-Blatchford, J. (2010). A Guide to Effective Observation and Assessment in The Early Years. UK: Open University Press.
Siraj-Blatchford, I., & Sylva, K. (2004). Researching Pedagogy in English Pre-Schools. British Educational Research Journal, 30(5), 713-730.
Sylva, K., Melhuish, E., Sammons, P., Siraj-Blatchford, I., & Taggart, B. (2008). Early Childhood Matters Evidence from the Effective Pre-school and Primary Education Project. London: Routledge.
Trawick-Smith, J. (2014). Early Childhood Development A Multicultural Perspective. (6th ed.). London: Pearson Education.
UNESCO. (2020). Global Education Monitoring Report. Retrieved June 25, 2023, from https//en.unesco.org/gem-report/home
World Bank. (2021). Early Childhood Development A Smart Beginning for School Success. Retrieved June 25, 2023, from https//www.worldbank.org/en/topic/earlychildhooddevelopment
Yogman, M., Garner, A., Hutchinson, J., & Hirsh-Pasek, K. (2018). The Power of Play: A Pediatric Role in Enhancing Development in Young Children. Pediatrics, 142(3), Pediatrics (2018) 142 (3): e20182058. https://doi.org/10.1542/peds.2018-2058