รูปแบบการบริหารงานวิชาการตามหลักอริยสัจ 4 สำหรับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

Main Article Content

ชนิดาภา พรหมิ
บุญเชิด ชำนิศาสตร์
พีรวัฒน์ ชัยสุข

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารงานวิชาการของครู 2) พัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการตามหลักอริยสัจ 4 สำหรับครู และ 3) นำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการตามหลักอริยสัจ 4 สำหรับครู รูปแบบการวิจัยแบบผสานวิธี พื้นที่วิจัย คือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูและผู้ดูแลเด็ก จำนวน 242 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ชนิด คือ 1) แบบสอบถาม 2) แบบสัมภาษณ์ 3) แนวทางการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความต้องการจำเป็น และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า


1. สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารงานวิชาการอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ การวัดประเมินผล การพัฒนาและใช้สื่อการสอน และการพัฒนาหลักสูตร มีความต้องการจำเป็น โดยภาพรวม PNIModified = 0.193


2. ประกอบด้วย 1) การบริหารงานวิชาการ เป็นการบริหารสถานศึกษาโดยมีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้ได้ผลดี และมีประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน 2) การบูรณาการตามหลักอริยสัจ 4 เพื่อประยุกต์ใช้ในการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด


 3. รูปแบบการบริหารงานวิชาการตามหลักอริยสัจ 4 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) วิธีดำเนินการ 4) การบริหารงานวิชาการตามหลักอริยสัจ 4 5) การประเมินผล พบว่า มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบไปใช้


องค์ความรู้จากงานวิจัย พบว่า การนำหลักอริยสัจ 4 การบูรณาการในการบริหารวิชาการ ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 การพัฒนาหลักสูตร ด้านที่ 2 การจัดการเรียนการสอน ด้านที่ 3 การพัฒนาและใช้สื่อการสอน และด้านที่ 4 การวัดประเมินผลบูรณาการ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). ศูนย์พัฒนาหนังสือชุดฝึกอบรมวิทยากรแกนนำหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เรื่องการพัฒนาสื่อการสอน ชุดที่ 13. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กัณยกร อัครรัตนากร, (2018). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 10(2)142-156.

กิดานันท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยีทางการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิดานันท์ มลิทอง. (2545). เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คัมภีร์ สุดแท้. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ชารี มาประจง. (2557). การพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก(วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาราชภัฏบุรีรัมย์.

ธวัชชัย รัตตัญญู. (2551). การพัฒนารูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม.

ธำรง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร การออกแบบและพัฒนา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.

ธีระ รุญเจริญ,.(2546). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แอล ที เพรส.

บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2550). แนวทางการพัฒนาการสอนกระบวนการคิด. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, (2546), การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: สหมิตรออฟเซท.

พรศักดิ์ อุ่นใจ, (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการเชิงกลยุทธ์สำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดศรีสะเกษ((วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาทวีศักดิ์ คุณธมฺโม. (2559). การพัฒนารูปแบบการบริหารวิชาการของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาสู่ความเป็นเลิศ(ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4). (2562). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 57 ก หน้า 49 (1 พฤษภาคม 2562).

มลวิภา สิขเรศ, (2558), รูปแบบการบริหารงานวิชาการเชิงพุทธบูรณการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ(ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

รุ่ง แก้วแดง. (2541). ปฏิวัติการศึกษาไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มติชน.

วิจิตร ศรีสะอ้าน. (2550). เอกสารประกอบการประชุมสัมนาทางวิชาการเรื่อง โรงเรียนนิติบุคคล : มิติใหม่ของการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

ศิริเดช สุชีวะ. (2546). ชุดเครื่องมือการประเมินตนเองของครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เนทบุ๊ค.

สิรพงศ์ พงศ์เชื้อทอง และ พงษ์ศักดิ์ รวมชมรัตน์. (2566). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 5(1), 13-24.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2544). หลักบูรณาการทางการศึกษาตามนัยแห่งพุทธธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุมาลี จันทร์ชลอ. (2542). การวัดผลและประเมินผล. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

สุมิตร คุณานุกร. (2528). หลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ. (22 พฤษภาคม 2564) แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565, จาก: http://samut2.spn2.go.th/?p=2528. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2564.

อมรา เล็กเริงศิลป์. (2540. หลักสูตรและการจัดการมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

อุทัย บุญประเสริฐ และ จิราภรณ์ จันทร์สุพัฒน์. (2540). หลักสูตรและการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

อุทัย บุญประเสริฐ. (2538). การวางแผนการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Miller, V. (1965). The Public Administration of American School. New York: Macmillan Publishing Company.

Phumphongkhochasorn, P., Damnoen, S., Tuwanno, P. D. M.., & Srichan, P. W. (2022). Educational Quality Assurance and School Management Standards According to International. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 6(1), 1–16.