แสงศรัทธาเหนือลำน้ำเจ้าพระยา: ประวัติศาสตร์ ความทรงจำ และบทสนทนาทางการเมืองในปฏิบัติการสื่อสารการแสดง
Main Article Content
บทคัดย่อ
“แสงศรัทธาเหนือลำน้ำเจ้าพระยา” เป็นละครเวทีที่พูดถึงชีวิตของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์และการปะทะกันระหว่างอุดมการณ์ในความทรงจำทางการเมืองไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยสร้างสรรค์เกี่ยวกับการใช้ความทรงจำของปักเจกมาสร้างความทรงจำร่วมของสังคมในการแสดง และการศึกษาเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการใช้การแสดงเพื่อกระตุ้นความทรงจำทางการเมืองและสร้างบทสนทนากับผู้ชม บทความวิจัยชิ้นนี้ต้องการแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างกระบวนการวิจัยทั้งสองรูปแบบ รวมทั้งประเด็นเกี่ยวกับวิธีวิทยาของการวิจัยสร้างสรรค์ที่กำลังเติบโตอย่างมากในวงวิชาการสื่อสารการแสดงและการละครระดับนานาชาติ อย่างเช่นการใช้วิธีวิทยาที่ผสมผสานระหว่างการสร้างสรรค์และการศึกษาวิเคราะห์และประโยชน์ที่การวิจัยในรูปแบบนี้จะมีต่อสังคม การเมือง และวิชาชีพ
Article Details
บท
Articles
References
ภาษาไทย
เจตนา นาควัชระ. (2556). วรรณกรรมละครของแบร์ทอลท์ เบรคชท์ การศึกษาเชิงวิจารณ์. มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
เจตนา นาควัชระ. (สิงหาคม 2530). คือผู้อภิวัฒน์… ทางอันแจ่มใสของละครเวทีไทย. ถนนหนังสือ. 5(2).
บ๊อบบี้และแบทแมน. (22 ธันวาคม 2552). แสงศรัทธาเหนือลำน้ำเจ้าพระยา: เรื่องเล่าของผู้หญิงอันหลากหลายที่พยายามก้าวให้ไกลไปกว่า “วีรสตรี”. มติชนออนไลน์. สืบค้นจาก http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1261401869 [5 สิงหาคม 2558]
สินธุสวัสดิ์ ยอดบางเตย. (5 ธันวาคม 2553). แสงศรัทธาเหนือลำน้ำเจ้าพระยา: ชีวิตและควาททรงจำบนสายธารประชาธิปไตยไทยของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์. กรุงเทพธุรกิจ, น. 4.
ภาษาต่างประเทศ
Altmanm Rick. (1999). Film/Genre. London: British Institute.
Custen, George F. (1992). Bio/pics: how Hollywood constructed public history. Newark, NJ: Rutgers University Press.
Bingham, Dennis. (2010). Whise Lives Are They Anyway? The Biopic as Contemporary Film Genre. Newark, NJ: Rutgers University Press.
Brecht, Bertolt. (1992). Brecht on Theatre: The Development of an Aesthetic (John Willet, Ed. And Trans). London: Methuen.
Halbwachs, Maurice. (1992). On Collective Memory. Chicago: The University of Chicago Press.
Halbwachs, Maurice. (1950). La memoire collective. Paris: Presses Universitaries de France.
Jones, Simon. (2009). The Courage of Complementary: Practice-as-Research as a Paradigm Shift in Performance Studies. In Baz Kershaw (Ed.), Practive-as-Research in Performance and Screen, (pp. 18-33). Basingstoke: Palgrave Macmillian.
Kershaw, Baz. (2002). Performance, Memory, Heritage, History, Spectacle – The Iron Ship. Studies in Theatre and Performance, 21(3), pp. 132-149.
Korzybski, Alfred. (1994). Science and Sanity: An Introduction to Non-Aristotelian Systems and General Semantics, Englewood. New Jersey: Institute of Performance. New York & London: Routledge.
Spivak, Gayatri. (1988). Can the subaltern speak? In Cary Nelson (Ed.), Marxism and the Interpretation of Culture, (pp. 271-313). Basingstoke: Macmillian Education.
เจตนา นาควัชระ. (2556). วรรณกรรมละครของแบร์ทอลท์ เบรคชท์ การศึกษาเชิงวิจารณ์. มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
เจตนา นาควัชระ. (สิงหาคม 2530). คือผู้อภิวัฒน์… ทางอันแจ่มใสของละครเวทีไทย. ถนนหนังสือ. 5(2).
บ๊อบบี้และแบทแมน. (22 ธันวาคม 2552). แสงศรัทธาเหนือลำน้ำเจ้าพระยา: เรื่องเล่าของผู้หญิงอันหลากหลายที่พยายามก้าวให้ไกลไปกว่า “วีรสตรี”. มติชนออนไลน์. สืบค้นจาก http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1261401869 [5 สิงหาคม 2558]
สินธุสวัสดิ์ ยอดบางเตย. (5 ธันวาคม 2553). แสงศรัทธาเหนือลำน้ำเจ้าพระยา: ชีวิตและควาททรงจำบนสายธารประชาธิปไตยไทยของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์. กรุงเทพธุรกิจ, น. 4.
ภาษาต่างประเทศ
Altmanm Rick. (1999). Film/Genre. London: British Institute.
Custen, George F. (1992). Bio/pics: how Hollywood constructed public history. Newark, NJ: Rutgers University Press.
Bingham, Dennis. (2010). Whise Lives Are They Anyway? The Biopic as Contemporary Film Genre. Newark, NJ: Rutgers University Press.
Brecht, Bertolt. (1992). Brecht on Theatre: The Development of an Aesthetic (John Willet, Ed. And Trans). London: Methuen.
Halbwachs, Maurice. (1992). On Collective Memory. Chicago: The University of Chicago Press.
Halbwachs, Maurice. (1950). La memoire collective. Paris: Presses Universitaries de France.
Jones, Simon. (2009). The Courage of Complementary: Practice-as-Research as a Paradigm Shift in Performance Studies. In Baz Kershaw (Ed.), Practive-as-Research in Performance and Screen, (pp. 18-33). Basingstoke: Palgrave Macmillian.
Kershaw, Baz. (2002). Performance, Memory, Heritage, History, Spectacle – The Iron Ship. Studies in Theatre and Performance, 21(3), pp. 132-149.
Korzybski, Alfred. (1994). Science and Sanity: An Introduction to Non-Aristotelian Systems and General Semantics, Englewood. New Jersey: Institute of Performance. New York & London: Routledge.
Spivak, Gayatri. (1988). Can the subaltern speak? In Cary Nelson (Ed.), Marxism and the Interpretation of Culture, (pp. 271-313). Basingstoke: Macmillian Education.