เว็บไซต์เลดี้อินเตอร์ดอทคอม กับการเป็นชุมชนออนไลน์สำหรับหญิงไทยซึ่งสมรสหรือมีความรักข้ามวัฒนธรรม

Main Article Content

อัจฉรียา รอบกิจ
พิรงรอง รามสูต

Abstract

This qualitative research studies www.ladyinter.com, a popular website among Thai women who are in cross-cultural marriage or relationship. This research looks into the development of this site as an online community for women, how these women create their communication network and how they create relationship within their circle, and how this very site contributes to the process of women empowerment. The results reveal www.ladyinter.com’s characters as an online community for women who engage in a cross-cultural relationship and those with a similar pursuit. The website has evolved from a casual bonding of a group of Thai women romantically engaged to foreigners and preparing a wedding plan to a virtual diasporic community with thousands members of Thai women from all parts of the world. In addition, the website is found to have a ‘user-centric’ policy, with content and governance driven primarily by its users. Its ‘feminine qualities’ allows female members to create bond based on understanding and compassion, hence resembling a traditional community of sort. The crowdsourcing nature of the site also allows a quick and effective knowledge contribution among members, resulting in rich information, ranging from technical immigration information to necessary information to alleviate problems from domestic violence. Ultimately, the website functions as a diasporic public sphere for cross-cultural married Thai women by not only providing them with virtual space for communication but also empowerment through useful information. 

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

อัจฉรียา รอบกิจ

อัจฉรียา รอบกิจ (นศ.ม. นิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555) ปัจจุบันกำลังศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขา International Business and Entrepreneurship ที่ Adam Smith Business School, University of Glasgow, Scotland, United Kingdom

พิรงรอง รามสูต, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิรงรอง รามสูต (Ph.D., Simon Fraser University, Canada, 2000) ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. 2543 การสื่อสารกับพื้นที่สาธารณะ: ทัศนะของ Habermas. มองสื่อใหม่ มองสังคมใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส์, 2555.
การต่างประเทศ, กระทรวง, รายงานโครงการ “ห่วงใยไกลบ้าน” เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งชุมชน/แรงงานไทย ในกลุ่มประเทศสแกนดิเนวีย (นอร์เวย์-สวีเดน-เดนมาร์ก), 2555.
กิตติ กันภัย. การสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ มองสื่อใหม่ มองสังคมใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส์.
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. 2549 การแต่งงานข้ามวัฒนธรรมไทยกับฝรั่ง ในประวัติศาสตร์สังคมสยาม. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นายอินเครา (นามปากกา). 2548 เมืองไทยในอดีต. พระนคร: ก้าวหน้า, 2506, อ้างถึงใน สุภาภรณ์ งามวัน. พลวัตภาพเหมารวมของผู้หญิงไทยที่แต่งงานกับชาวต่างชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา, สำนักงานบัณฑิตอาสาสมัคร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นฤมล อนุศาสนนันทน์. 2551 ชุมชนออนไลน์ของเยาวชน: กรณีศึกษา www.Dek-D.com. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาวารสารสนเทศ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัชรินทร์ ลาภานันท์, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, เยาวลักษณ์ อภิชาตวัลลภ. 2550 การแต่งงานข้ามวัฒนธรรม: การศึกษาสถานภาพองค์ความรู้. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขงคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พัทยา เรือนแก้ว. 2551 หญิงไทยในเยอรมนี: ศึกษากรณีการย้ายถิ่นโดยใช้การแต่งงานเป็นเครื่องมือ. ใน สตรีศึกษา
ปาริชาติ วลัยเสถียร, ภาวนา พัฒนศรี, สินิทธ์ สิทธิรักษ์ (บรรณาธิการ). โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมศาสตร์.
รณชาติ บุตรแสนคม. 2545 เครือข่ายและกระบวนการทำข่าวของสำนักข่าวเด็กและเยาวชน “ขบวนการตาสัปปะรด”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รายงานสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2546 ชีวิตใหม่ของหญิงไทยในต่างแดน [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://region.nesdb.go.th/NESSO/research_esarn/data09.pdf [24 มี.ค. 2555]
ศิริรัตน์ แอดสกุล. 2551 การแต่งงานข้ามวัฒนธรรมของผู้หญิงชนบทในเขตจังหวัดอุดรธานี. เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย.), หน้า 36-58.
สมสุข หินวิมาน. ทฤษฎีการสื่อสารกับโลกาภิวัตน์. ใน ประมวลสาระชุดวิชา ปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร (หน่วยที่ 8-15). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุภางค์ จันทวานิช และคณะ. 2542 การย้ายถิ่นของผู้หญิงไทยไปเยอรมนี: สาเหตุ ชีวิตความเป็นอยู่ และผลกระทบในประเทศไทยและเยอรมนี. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภาภรณ์ งามวัน. 2548 พลวัตภาพเหมารวมของผู้หญิงไทยที่แต่งงานกับชาวต่างชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา, สำนักงานบัณฑิตอาสาสมัคร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, หน้า 64.

ภาษาอังกฤษ
Abraham, A., Hassanien, A.E., and Snasel, V. (Eds.) 2010 Computational Social Network Analysis: Trends, Tools and Research Advances. Dordrecht: Springer
Charsley, K. et al. 2012 Marriage-related migration to the UK. UK Home Office. International Migration Review, volume 46, [Online]. Available from http://www.academia.edu/2219554/Marriage-related_migration_to_the_UK [2012, January 29]
Cohen, R. 1997 Global Diasporas: An Introduction. Seattle: University of Washington Press.
D’ Andrea, A. et al. 2010 An Overview of Methods for Virtual Social Network Analysis, 2009. In Abraham, A et al. Computational Social Network Analysis: Trends, Tools and Research Advances. Dordrecht: Springer
Davis, S.S. 2004 Women Weavers Online: Rural Moroccan Women on the Internet. Gender Technology and Development (March 2004): 53-74.
De Nooy, W., Mrvar, A., Batagelj, V. 2005 Exploratory Network Analysis with Pajek. New York: Cambridge University Press, P: 5.
Donovan, J. 2000 Feminist Theory: The Intellectual Traditions. 3rd ed. Norfolk: Continuum International Publishing Group.
Esman, M. J. 2009 Diasporas in the contemporary world. Cambridge: Polity.
Estelles-Arolas, E. 2012 and Gonzelez-Ladron-de-Guevara, F. Towards an integrated crowdsourcing definition, Journal of Information Science, 10 (PP): 1-14.
Howe, J. 2006 Crowdsourcing: A Definition . Crowdsourcing Blog [Online]. Available from http://crowdsourcingtypepad.com/cs/2006/06/crowdsourcing_a.html [2013, April 28]
Kim, A.J. 2000: Community building on the Web: secret strategies for successful online communities. Berkeley, CA: Peachpit Press.
Jabusch, D.M, Littlejohn, S.W Levison, G.K. 1981 Elements of speech communication: Achieving Competency. Boston: Houghton Mifflin.
Jones, S.G. (ed.) 1997 Virtual culture: identity and communication in cyber society. London: Sage.
Nayar, P.K. 2010 The new media and cyber cultures anthology. Melden MA: Wiley-Blackwell.
Rogers, E.M. 2003 Diffusion of Innovations. New York: Free Press.
Tonnies, F. 1957 Community and Society (Gemeinschaft and Gesellschaft). By Charles Price Loomis. East Lansing: Michigan State University Press.
Van Ess, H. 2010 Crowdsourcing : how to find a crowd. Germany: ARD/ZDF Academy.
Whitty, M.T. and Carr, A.N. 2006 Cyberspace romance: the psychology of online relationships. Basingstoke: Palgrave Macmillian.