สถานภาพปัจจุบันของการออกอากาศรายการวิทยุสําหรับเด็กและพฤติกรรมการเปิดรับสื่อวิทยุของเด็กไทย

Main Article Content

มรรยาท อัครจันทโชติ

Abstract

This survey research aims to examine 1) the quantity of radio programs for children 2) the attributes of children's children were divided by age (3-5 years, 6-12 years, 13-17 years), sex (male, female), and residential areas (urban, rural) in equal number.The findings revealed that the target audience for most children's radio programs is children aged 13-17 years, followed by children aged 6-12 years, and children aged 3-5 years respectively. Concerning the airtime, however, the children's radio programs are rarely available, regardless of the main radio stations or local radio stations. The design of the radio producers about the program s tone and radio moderator's personality matches the interests of the children. Contrastingly, the content and presentation technique, presented most in the children's radio programs, are not in accordance with the most children's interest. The results also showed that small number of children are exposed to the radio and almost all of them never listen to radio programs for children. More than half the children do not have the opportunity to select the radio program by themselves; therefore, most of them listen to the radio programs that are not for the children. The policy recommendations for children's radio programs include 1) formulating proactive strategies for facilitating audio media access for children 2) promoting children's radio campaigns aimed at parents 3) establishing children's format radio station, which is multiplatform broadcasting 4) continually running workshops for radio producers to improve the quality of radio programs for children 5) formulating policy on the number of radio programs for children, which is consistent with the children's lifestyle 6) funding for the children's radio production and research on audio media.

Article Details

Section
Articles
Author Biography

มรรยาท อัครจันทโชติ, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มรรยาท อัครจันทโชติ ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจําภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดรายการวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชนและครอบครัว, ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชนและครอบครัว การศึกษารายการวิทยุสําหรับเด็กปฐมวัย (3-5 ปี), เอกสารแจก
จิราพร ยังสุข. (2552). วิทยุกระจายเสียงสําหรับเด็ก : หลักการผลิต เนื้อหา และรูปแบบรายมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
จิราภรณ์ สีหวงศ์. (2522). ความสนใจของเด็กในการรับฟังรายการวิทยุที่จัดขึ้นเพื่อเด็ก. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาโสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุมพล รอดคําดี. (2555). คู่มือการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง. กรุงเทพฯ : ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว.
นัฏฐา เอื้อภราดร. (2545). วาทวิเคราะห์รายการวิทยุสําหรับเด็ก. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปัณณพร ไพบูลย์วัฒนกิจ. (2552) รายการวิทยุชุมชนสําหรับเด็ก เยาวชนและครอบครัวในพื้นที่ภาคเหนือ.คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เข้าถึงได้จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=483348
พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2549). ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มนัสวินี จันทะเลิศ. (2548). เกณฑ์ในการประเมินคุณภาพรายการเด็กทางโทรทัศน์ วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มรรยาท อัครจันทโชติ. (2554). รายงานผลการดําเนินงานโครงการบริการวิชาการที่ 1 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพรายการในวิทยุชุมชน. ศูนย์ศึกษานโยบายสื่อ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ศูนย์จัดการความรู้การสื่อสารและการพัฒนา.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2550), การศึกษาสถานภาพการใช้และการผลิตสื่อเพื่อเด็กเยาวชนของประเทศไทย. เข้าถึงได้จาก www.ccdkm.org/CCDKM.thail.Document_13_14July_th.doc
ศูนย์วิชาการ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2553). “ตาดูหูฟัง” สถานการณ์การรับสื่อโทรทัศน์
วิทยุ ของคนไทย. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. สมาคมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว. (2555). ผู้ใหญ่จํา พวกหนูก็ชอบฟังวิทยุเหมือนกันนะ. เอกสารแผ่นพับ สมาคมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว. (2555). ผลงามตามวัย. กรุงเทพฯ : แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน สันติ เกษมสิริทัศน์. (2550). การสร้างสรรค์รายการเด็ก, เอกสารการสอนชุดวิชาการสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์, กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สริยเคว ทรีปาตี (2556) รู้จักเด็กทั้งตัวและหัวใจ พัฒนาการของเด็กและวัยรุ่น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็ก และครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล.
เสาวณีย์ ฉัตรแก้ว. (2552), จูนหาคลื่นวิทยุเด็ก, กรุงเทพฯ : โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพรายการวิทยุเพื่อเด็กเยาวชน และครอบครัว
ภาษาอังกฤษ
Drotner, Kristen and Livingstone, Sonia. (2008). The International Handbook of Children, Media and Culture. London : SAGE.
Greenfield, Patricia, et al. (1986). Is the medium the message?: An experimental comparisons of the effects of radio and television on imagination. Journal of Applied Development Psychology. 7(3), 201-218. Retrieved from http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/0193397386900298
Ferrington, Gary. (1994). Kid, Imagination, and Audio In The Classroom. Media Literacy Education Network. School of Journalism and Communication, University of Oregon. Retrieved from http://jcp.proscenia.net/publications/articles_mlr/ferrington/kidsimagine.html Klapper,
Joseph. (1960). Klapper's Selective Exposure. Retrieved from http://en.wikipedia.org/wiki/Selectiveexposure_theory
McQuail, D. (2005). McQuail's Mass Communication Theory. 5th ed., London : SAGE. Stephenson, William. (1967). The play theory of mass communication. Retrieved from http://www.google.co.th/books?hl=th&lr=&id=SEO-HKL9quoC&oi=fnd&pg=PA1&dq=stephenson+play+theory&ots=Aw9gTwylkR&sig=rZuwTuquD469ttzKSsUf42RDbfg&redir_esc=y Strasburger,
Victor C. (2009). Children, Adolescents, and the Media. California : SAGE.