การสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนสังคมสีเขียว ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

Main Article Content

ศิริลักษณ์ สุวรรณเกตุ
กาญจนา แก้วเทพ

Abstract

The study of “The Communication to Mobilize Green Society of Office of the National Economic and Social Development Board” is a type of qualitative research methods by analyzing data from related documentation during 3 Years (2010-2012) and in-depth interviews of the representatives from Development Evaluation and Communication Office(DECO); National Economic and Social Development Board(NESDB) and the member groups based on 7 issues of Green Society which are Agriculture, Industry, Tourism, Transportation and Energy, Green Innovation, Social Innovation, and Coping with Disasters beneath Green growth. The result of this research found that


1) The stage of operation is 1.NESDB summarizes the opinion and suggestion drafted from all member and submits to Council of Ministers. 2.NESDB appoints Green Society Development Committee by the agreement of Council of Ministers. 3.Host unit cooperates with other sectors (National Committee, Ministry, and Province). 4.Monitoring and Evaluation. The operation uses a kind of bottom-up communication. The diffusion process composed of : 1. Various communication channel. 2.Personal channel or chief executives joined in brainstorming in different events hosted by other organizations. 3.Mass communication. 4.Operations research by NESDB and co-studying with other sectors.


2) 5 types of network which help NESDB choosing operational channels, consist of 1.Subcommittee to mobilize Plan 11th (2012-2016) 2.Network based on 7 issues of Green Society 3.Network in each sector (government sector, private sector, civil society sector, and academic sector). 4.Provincial Network consists of provincial and local area. 5.Green Society Development Committee.


3) Communication process of network based on 7 issues of Green Society This loose network is a kind that NESDB needs collaboration from all member; government and mostly non-government sectors which most of them have continuously operated mobilizing in each issue before. While government sector has prominent point in durability, other sectors also has strong point in their authentic interest in green issue. Network building process is constructed through complementary strategy. Network also has mixed communication form between vertical (government sector) and horizontal (not government sectors).


4) The contextual factors which influence communication process of network including Support factors:(1) Awareness (2) Organization, Host, Leadership of network (3) Communication. Obstacle factors:(1) Understanding and Awareness (2) Organization, Network mobilization (3) Economy and Law.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

ศิริลักษณ์ สุวรรณเกตุ

ศิริลักษณ์ สุวรรณเกตุ (นศ.ม. นิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)

กาญจนา แก้วเทพ, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กาญจนา แก้วเทพ (Ph.D., University of Paris 1, France, 1984) ปัจจุบันดํารงตําแหน่งรองศาสตราจารย์ประจําภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. (2553). ปัญหาและแนวโน้มการสื่อสารเพื่อการพัฒนาเอกสารการสอนชุดวิชาการสื่อสารกับการพัฒนา สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, เกศรา บูรพาเคชะ. (2549). การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จินตวีร์ เกษมสุข. (2554). การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชูพงษ์ พิพัฒน์ไชยศิริ. (2552). เครือข่ายและกระบวนการสื่อสารของคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พนม คลื่ฉายา. (2554). ธรรมชาติของสื่อและการประยุกต์ใช้สื่อ , เอกสารการสอนวิชาการวางแผนและการผลิตสื่อเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภาญา ธนวัฒน์เสรี. (2550). การจัดการและกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงของคณะทํางานขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้านสื่อมวลชนและประชาชน รายงานโครงการเฉพาะบุคคล ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. (2555), เอกสารประกอบการประชุมโต๊ะกลม:เศรษฐกิจสีเขียวสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ภายใต้โครงการจัดทําเอกสารเผยแพร่ในเรื่อง Thailand Green Economy.
สุเมธ กาญจนพันธุ์. (2551). กลยุทธ์การบริหารจัดการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). คู่มือการแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 สู่การปฏิบัติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด (พ.ศ.2555-2559) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). รายงานประจําปี 2555 การขับเคลื่อนแผนฯ 11. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). เอกสารประกอบการประชุม ประจําปี 2555 อนาคตประเทศไทยบนเส้นทางสีเขียว.สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
อภิชา น้อมศิริ (2552) การสื่อสารเพื่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายสุขภาพโดยกองสุขศึกษากรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,

ภาษาอังกฤษ
Gumucio Dagron. (2001). Making Waves: Stories of Participatory Communication for Social Change. A Report to the Rockefeller Foundation.
McQuail .D. (1987). Mass Communication Theory: An Introduction. Beverly Hills, CA: Sage Publications.
Rogers. E M..(1995). Diffusion of Innovations. (4"ed.). New York: Free Press.
Srinivas R. Melkote and H. Leslie Steeves. (2001). Communication for Development in the Third World: Theory and Practice for Empowerment (2nd ed.). New Delhi: Sage Publications.