การสํารวจสถานกาพและการสืบทอดสื่อการแสดงพื้นบ้านในภาคตะวันออก

Main Article Content

สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์

Abstract

This study aims to investigate the status of folk media according to the communication components, the inheritance of folk media, and the internal and external factors influencing the existence of folk media. The research methods include documentary research, interviews, observations, and seminar discussion.


The study found that, firstly, folk media in the East of Thailand mostly were in good status. The artists mostly performed for business purpose. The folk media of the East included ethnic groups such as Chinese, Khmer, or Chong. Secondly, factors influencing the status of folk media incorporated networks inside and outside the communities; supports from communities; inheritance to new generations through schools; prime mover; research; and cultural sphere. Thirdly, the inheritance of folk media was through form - the performing and musical skills; whereas the inheritance in term of the relationship - among artists and, with folk media - was scarce. The inheritance of folk media, fourthly, reflected the concept of cultural reproduction with the emphasis of the cultural distribution, rather than the reproduction and cultural consumption. Moreover, the strongest component in the transmission of folk media was artists; on the contrary, the weakest component was audience. Last but not least, business-led folk media inherited by adjusting themselves to accommodate the audiences' taste. In contrast, non-business folk media, mainly ethnic folk media, inherited by applying the concept of cultural owner's right with the emphasis of ethnic identity.

Article Details

Section
Articles
Author Biography

สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์

สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ (นศ.ด. คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจําโครงการจัดตั้งคณะ นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

References

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. เมื่อสื่อส่องและสร้างวัฒนธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศาลาแดงจํากัด, 2545.
กาญจนา แก้วเทพ สื่อพื้นบ้านสื่อสารสข. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อพื้นบ้านเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน (สพส. - - กาญจนา แก้วเทพ และคณะ, สื่อพื้นบ้านเพื่อการพัฒนา : ภาพรวมจากงานวิจัย. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2548.
กาญจนา แก้วเทพ. ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์, 2549.
กาญจนา แก้วเทพ. การวิจัย “การบริหารจัดการวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม” เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนานักวิจัยท้องถิ่นด้านการบริหารจัดการวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม” โดยสํานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.) ร่วมกับศูนย์สหวิทยาการชุมชนศึกษา มสธ. และโครงการเมธีวิจัยอาวุโส สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) วันที่ 2-3 กุมภาพันธ์ 2551 ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ฆัสรา ขมะวรรณ. แนวคิดของเรย์มอนด์ วิลเลียมส์ในวัฒนธรรมศึกษาและการวิเคราะห์วัฒนธรรมบริโภค. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2537.
นิธิ เอียวศรีวงศ์, นาฎกรรมกับการสื่อความและอนาคต. ในปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล (บรรณาธิการ), เบิกโรง: ข้อพิจารณานาฏกรรมในสังคมไทย. หน้า 150-164. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2534.
บุษกร สําโรงทอง และคณะ, วัฒนธรรมไทยในดนตรีไทย: ภาคตะวันออก, รายงานการวิจัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
บุษยากร ตีระพฤติกุลชัย. กระบวนการสื่อสารเพื่อปรับแปลงความหมายในพิธีกรรมงานศพ. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558.
พรศักดิ์ พรหมแก้ว (บก.) ที่ทรรศน์วัฒนธรรม, สงขลา: สถาบันทักษิณคดี มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2540.
ภัสวลี นิติเกษตรสุนทร, เครือข่าย: อีกแนวทางหนึ่งในการสืบสานสื่อพื้นบ้าน. ในสื่อพื้นบ้านแข็งแกร่ง สุขภาวะ
ชุมชนเข้มแข็ง. หน้า 76-121. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข (สพส.), 2549.
สมสุข หินวิมาน สื่อพื้นบ้านสื่อสารสุข: แนวคิดและความหมาย. หน้า 27-58. ใน กาญจนา แก้วเทพ (บก.). สื่อพื้นบ้าน สื่อสารสุข. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อพื้นบ้านเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน (สพส.), 2548 สมสุข หินวิมาน, แนวคิดในการศึกษาการบริหารจัดการวัฒนธรรมท้องถิ่น ในกาญจนา แก้วเทพ (บก.). แนวคิดเรื่อง“การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย. หน้า 220-245, กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์, 2558.
สุกัญญา สมไพบูลย์. การวิเคราะห์การศึกษาสื่อการแสดงประเภทสื่อพื้นบ้าน. รายงานการวิจัยคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์. การสืบทอดเท่งตุ๊ก จ.จันทบุรี เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ และคณะ, การบริหารจัดการสื่อการแสดงพื้นบ้านแบบมีส่วนร่วมด้วยนวัตกรรมการวิจัย ในกาญจนา แก้วเทพ (บก.), การบริหารจัดการวัฒนธรรมพื้นบ้านแบบมีส่วนร่วมด้วยนวัตกรรมการวิจัย. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์, 2558.

ภาษาอังกฤษ
Bauman, Richard. Folklore, cultural performances, and popular entertainments: a communications centered handbook. New York: Oxford University Press, 1992.
Jayaweera, Neville. Folk media and development communication myths and realities: a report on Social Institute, 1991. experiences in people's communication in Mexico, India and the Philippines. Manila: Asian
Tiongson, Nicanor G., Velasco, Jovenal. The cultural traditional media of ASEAN : essays, bibliographies, glossaries, directories. Manila: ASEAN, 1986.
Valbuena, Victor T. Using traditional media in environmental communication. Singapore: Asian Mass Communication Research and Information Centre, 1987.