การสร้างเรื่องเล่าและตัวละคร “ซูสีไทเฮา” ในวรรณกรรม ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research is to study the narrative and characterization of ‘TZU-SHITHAI-HOU’ in literature, films and television drama, by using textual analysis method to examine two literature, six films, and four television dramas. The results of this research are as follows:
1. The narrative in literature, films and television drama can be divided into two types: 1) Film and television drama maintaining historical facts as the main plot, which was principally depicted from historical facts, and 2) Literature, films and television drama integrating historical facts with narrators’ imaginations
2. The characterization of ‘TZU-SHITHAI-HOU’ in literature, films and television drama can be divided into three types: 1) The Cruel Empress, 2) The Empress as a human, and 3) The Empress who brought prosperity and deterioration to China.
Article Details
References
กาญจนา แก้วเทพ. (2552). แนวพินิจใหม่ในสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทร์ฉาย คุมพล และ กองบรรณาธิการสำนักพิมพ์ปาเจรา. (2551). ยอดคนผู้พลิกประวัติศาสตร์โลก. กรุงเทพฯ: ปาเจรา.
ฉลองรัตน์ ทิพย์พิมาน. (2539). วิเคราะห์โครงสร้างการเล่าเรื่องในภาพยนตร์อเมริกันที่มีตัวเอกเป็นสตรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชยพล สุทธิโยธิน. (2548). เอกสารการสอนชุดวิชา 16347 การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชลดา พรหมชาติสุนทร. (2554). การสร้างอารมณ์ขันในละครชุดโทรทัศน์แนวระทึกขวัญเชิงสืบสวนสอบสวนเรื่องซูเปร์เนเชอรัล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิชธ์นาวิน จุลละพรามหณ์. (2554). สัมพันธบทในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์อเมริกันแนวแวมไพร์ร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐพร ลิ้มประสิทธิวงค์. (2554). การเล่าเรื่องและการสร้างลักษณะตัวละครในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ที่มีตัวเอกเป็นสตรีจากเทพปกรณัมกรีก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทัศนัย กุลบุญลอย. (2554). การสร้างเทพนิยายสมัยใหม่ในภาพยนตร์ชุดสาร์วอร์ส. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทรงภพ ขุนมธุรส. (2554). ขัตติยนารีในนวนิยายไทยอิงประวัติศาสตร์. ปริญญานิพนธ์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.
ไทยบันเทิง ไทยพีบีเอส. (2555). สร้างกระแสนิยมภาพยนตร์ฮ่องกง. [ออนไลน์]. 2555. แหล่งที่มา: http://www.youtube.com/watch?v=xu8SucB4JmA [30 เมษายน 2556]
ไทยบันเทิง ไทยพีบีเอส. (2555). ยุครุ่งเรืองหนังฮ่องกงในไทย. [ออนไลน์] 2555. แหล่งที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=_fPOJAOaEM4 [30 เมษายน 2556]
ปนิธดา สมตระกูล. (2552). การสร้างคุณลักษณะของตัวละครและการออกแบบศิลปกรรมในการสร้างสรรค์งานแอนิเมชั่นจากพุทธประวัติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประวัติศาสตร์จีน. (2554). ประวัติศษสตร์จีนบุคก้าวสู่จีนยุคใหม่-ปฏิรูปสู่การปฏิวัติ. [ออนไลน์] 2554. แหล่งที่มา: http://www.thaichinese.net/History/history-modern4.html [25 มีนาคม 2556]
มารศรี สอทิพย์. (2555). เรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช: กลวิธีการเล่าเรื่องกับการสร้างภาพลักษณ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รวิโรจน์. (2555). เรื่องโหดๆ ของพระนางซูสีไทเฮา. กรุงเทพฯ : อนิเมทกรุ๊ป.
รัตนา จักกะพาก และ จิรยุทธ์ สิทธุพันธุ์. (2554). จินตทัศน์ทางสังคมและกลวิธีการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ของสัตยาจิต เรย์: การศึกษาวิเคราะห์. ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัตนา จักกะพาก. (2545). จินตทัศน์ทางสังคมและกลวิธีการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล : การศึกษาวิเคราะห์ . กองทุนวิจัยคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรพล ผสมทรัพย์ และอนงค์นาฏ เถกิงวิทย์. (2553). การเมือง ประวัติศาสตร์ สตรี : ภาพลักษณ์จักรพรรดินีซูสีในนวนิยาย เรื่อง เอ็มเพรส ออร์คิด และ เดอะ ลาสท์ เอ็มเพรส. ใน การประชุมวิชาการครั้งที่ 7 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. หน้า 1438-1446. 7-8 ธันวาคม 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม.
สรณัฐ ไตลังคะ, ประวัติศาสตร์นิพนธ์กับโฉมหน้าบันเทิงคดีร้อยแก้วยุคแรกในสมัยรัตนโกสินทร์. ภาษาและหนังสือปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (มกราคม, 2549) : 31-56.
วัชรี เกวลกุล. (2554). การสื่อสาร “วิกฤตอัตลักษณ์” ในนวนิยายของ ฮารูกิ มูราคามิ และเรื่องสั้นแนวหลังสมัยใหม่ของไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สัณฐิตา นุชพิทักษ์. (2552). ความร้ายกาจของตัวละครในละครโทรทัศน์ไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวรรณา ตันเจริญ. (2551).การสร้างตัวละครกับการนำเสนอมโนทัศน์เกี่ยวกับผู้หญิงในนวนิยายของ ปิยะพร ศักดิ์เกษม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสฐียร พันธรังษี. (2521). นางพญาแม่งจู. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
อันฉี หมิน. (2552). ซูสีไทเฮา ราชีนีดอกกล้วยไม้. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มติชน.
อันฉี หมิน. (2554). พระนางซูสี จักรพรรดินีกู้บัลลังก์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มติชน.
อิราวดี ไตลังคะ. ศาสตร์และศิลป์แห่งการเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภาษาอังกฤษ
Munslow, A. 2007. Narrative and History. Hampshire : Palgrave Macmillian.