A Study of Community Radio Audiences (Public Sector)

Main Article Content

เมธา เสรีธนาวงศ์
เสริมศิริ นิลดำ
ประยุทธ วรรณอุดม
นิษฐา หรุ่นเกษม

Abstract

This research aimed to study the audiences of community radio (public sector), referring to local radio stations which were founded according to the intention of the Constitution of the Kingdom of Thailand (B.E. 2540), using a combination of quantitative and qualitative research methods to study audiences in 6 regions.
The study found that most community radio audiences in all regions are of middle-age and elderly groups. The major problem regarding exposure is unclear transmission caused by frequency interference or overlapping. Moreover, it found that audiences generally listen to entertainment programs. They tend to like programs with homegrown styles or ones using local languages. Country music and folk music are the most popular genres. Audiences also like to listen to news that is close and related to their lifestyle.
The results concerning audiences’ understanding toward the roles, philosophy, principle and existence of community radio stations showed that the audiences’ understanding toward the basic principle of community radio is in a “high” level, particularly the acceptance of community radio’s role as a communication tool that links local people together, and as a place to promote local artists’ performance and to preserve community culture. Moreover, the audiences’ understanding toward the role of community radio is in a “high” level, especially as a content and entertainment provider, a complaint unit concerning problems with the quality of life in their community, and a communication tool that buildsvillagers’ network and alliance among communities.
The result of the study concerning audiences’ aware¬ness of the impact of community radio on the way of life, culture, lifestyle, etc. showed that audiences’ awareness of the impact of community is in a “high” level, particularly the awareness that community radio enables members to communicate more, helps audiences relaxed, becomesa reliable medium, creates unity and public consciousness, and performs as an alternative medium for self and community development.
The results concerning audiences’ participation with community radio operation showed that most audiences do not participate in founding, planning and setting policy of the station, and the majority of them are never aware of the invitation to partake in the station’s activities. However, most audiences have participated in monitoring and evaluating the appropriateness and accuracy of content, and monitoring whether the content is transparent, unbiased, and fair. Audiences explain that their non-participation was due to the lack of understanding in community radio’s principle and role, as well as the monitoring and evaluation scheme. They add that the unclear transmission, which obstructs the exposure, prevents them from being informed of thestation’s activities. The research also found that people who did not participate in community radio activities since the beginning do not form any relationship with the station.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

เมธา เสรีธนาวงศ์

เมธา เสรีธนาวงศ์ (นศ.ม. นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เสริมศิริ นิลดำ

เสริมศิริ นิลดำ (นศ.ด. นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ประยุทธ วรรณอุดม

ประยุทธ วรรณอุดม (นศ.ด. นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

นิษฐา หรุ่นเกษม

นิษฐา หรุ่นเกษม (นศ.ด. นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

References

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. (ม.ป.ป.). คู่มือวิทยุชุมชน (FNS). เอกสารอัดสำเนา.
____.(2549). วิทยุชุมชน: คลื่นหนุนการสร้างพลังให้ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ดนุชา สลีวงศ์. (2549). การศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ฟังรายการวิทยุชุมชนมูลนิธิบุญญาภรณ์ (F.M. 90.75 MHz.) วัดโสภณาราม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บัวผิน โตทรัพย์. (2550). การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของผู้ที่มีต่อรายการวิทยุชุมชนชมรมเครดิตยูเนี่ยนภาคใต้ (เครือข่ายจังหวัดสุราษฎร์ธานี). วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปัฐยา เรืองเริงกุลฤทธิ์. (2546). พฤติกรรมการรับฟังรายการวิทยุชุมชนของคนโคราช สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารสื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัชรี กวางคีรี. (2551). วิทยุชุมชนกับการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการสื่อสารเพื่อการพัฒนาองค์กรชุมชน กรณีศึกษา : องค์กรชุมชนบ้านจำรุง หมู่ที่ 7 ตำบลเนินฆ้อ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิรงรอง รามสูต. (2554). คู่มือจริยธรรมวิทยุชุมชน. กรุงเทพฯ : สหพันธ์วิทยุชุมชนแห่งชาติ.
ภริตพร สุขโกศล. (2547). กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของวิทยุชุมชน อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ. (2542). การวิเคราะห์ผู้รับสาร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลัดดา แคนบุญจันทร์. (2553). พฤติกรรมการรับฟังรายการข่าวสารความรู้ การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจจากสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยระบบเอฟ.เอ็ม. 101.75 MHz. ของประชาชนในจังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตร มหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ลีลาวดี วัชโรบล. (2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในวิทยุชุมชน : กรณีศึกษาวิทยุชุมชนคนเมืองปทุม ตำบลคลองสาม อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการ) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
วิทยุชุมชน: ก้าวเล็กๆที่ชัดเจนบนเส้นทางเสรีสื่อ. แหล่งที่มา: http://www.thaingo.org/story3/news_radiocommun.htm [30 กันยายน 2548]
วีรพงษ์ พลนิกรกิจ และนิภากร กำจรเมนุกูล. (2547). แนวทางการพัฒนาวิทยุชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนจังหวัดนครราชสีมา. วารสารนิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 2547.
ศิวพร ศรีสมัย. (2550). การเชื่อมโยงสื่อเพื่อลดช่องว่างทางดิจิตัล: การเชื่อมโยงสารสนเทศจากสื่ออินเทอร์เน็ตสู่วิทยุชุมชน. วิทยานิพนธ์ นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนุตรา พรวดี. (2544). ความต้องการรายการวิทยุชุมชนของผู้ฟังในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภาษาอังกฤษ
Atton, C. (2002). Alternative media. CA: Sage.
Cochran, W. G. (1953). Sampling Techniques, 2nd Ed., New York: John Wiley and Sons, Inc.
Enzensberger, H. M. (1976). Constituents of a theory of the media.’ In Raids and reconstructions: Essays on politics, crime and culture. (pp. 20-53). London: Pluto Press.
McQuail, D. (1993). MacQuail’s Mass Communication Theory. Oxford: The Alden Press.
O’ Sullivan, T. (1994). Alternative Media. In O’ Sullivan, T., Hartley, J., Saunders, D., Montogomery, M., & Fiske, M. Key Concepts in Communication and Cultural Studies, 2 nd ed. London: Routledge.
Yamane, T. (1993). Statistics: An introduct analysis. 2 nd ed. New York : Harper & Row.