การใช้เสียงเพื่อสร้างความรู้สึกกลัวใน “หนังผี” ไทย

Main Article Content

นฤชิต เฮงวัฒนอาภา
ปรีดา อัครจันทโชติ

Abstract

The purpose of this research was to study the use of sound to create fear in Thai ghost films by using qualitative research methodology and mixed methods. This research studied the uses of sound in nine scenes from seven Thai ghost films, using textual analysis, focus group discussion with Thai ghost film lovers. And interview with sound design specialists. Five categories of concepts and theories were used, namely: 1) concept about horror films, 2) concept about the sound, 3) social construction of reality, 4) semiology, and 5) concepts about psychological fear.


            The study revealed five key findings. 1) The use of surround sound system could create greater fear for the audience than mono or stereo. 2) The use of surround sound system could evoke the image in a first-person view. 3) The use of surround sound system could enable the audience to become emotionally engaged with the location shown in the scene. 4) The use of sudden loud sound could make the audiences startled, tremble, and frightened, but this method needs the audience to be distracted in order to minimize the precaution that they have created against fear. 5) The distance between the ghost and the first-person perspective was related to the loudness of sound used in sudden sound techniques.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

นฤชิต เฮงวัฒนอาภา

นฤชิต เฮงวัฒนอาภา (นศ.ม., จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559; อีเมล์: [email protected])

ปรีดา อัครจันทโชติ, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปรีดา อัครจันทโชติ (นศ.ด., คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2543). การวิจัยทางศิลปะ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทศพร กรกิจ. (2554). การสร้างความน่าสะพรึงกลัวใน “หนังผี” อเมริกัน เกาหลี และไทย. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
นันธิดา จันทรางศุ. (2548). ดนตรีทางเลือกในการบำบัดอาการซึมเศร้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=937185339642626&id=211786218849212&substory_index=0/. (วันที่ค้นข้อมูล: 12 กุมภาพันธ์ 2559).
นลินวลัย เนื้อนุ้ย และ พรดารา ศรีดี. (2558). คุณลักษณะผีผู้หญิงในภาพยนตร์สยองขวัญของ GTH. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. (2533). ระหว่างกระจกกับตะเกียง. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. (2533). ศิลปะแขนงที่ 7. กรุงเทพฯ: เม็ดทราย.
ปรัชญา ทองชุม. (2557). การสร้างเสียงในตระกูลหนังผีไทย. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
แพง ชินพงศ์. (2551). ดนตรีเพิ่มพลังสมอง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.manager.co.th/Family/ViewNews.aspx?NewsID=95100000093735/. (วันที่ค้นข้อมูล: 2 กุมภาพันธ์ 2559).
ภรตมุนี. (2511). นาฏยศาสตร์ ตำรารำ. แปลโดย แสง มนวิทูร. พระนคร: กรมศิลปากร.
Nation Midnight. (2557). รายการเปิดหูเปิดตา ตอน มาตรฐานรางวัลภาพยนตร์ไทยก้าวไปสู่สากล. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=gKoT7d2rXVA/. (วันที่ค้นข้อมูล: 29 กันยายน 2558).

ภาษาอังกฤษ
Boxoffivemojo. (2559). Thailand Box Office Index. [Online]. Available from: http://www.boxofficemojo.com/intl/thailand/. [3 March 2016]
Crook, Tim. (2542). Radio Drama: Theory and Practice. London: Routledge.
IMDB. (2559). Best Asian Horror Movie. [Online]. Available from: http://www.imdb.com/list/ls054204655/?start=1&view=-detail&sort=user_rating:desc&defaults=1&scb=0.6034675070550293/. [3 February 2016].
Lyve, Des. (2538). Basic of Video Sound. Oxford: Butterworth-Heineman Ltd.
McGlasson, Michael. (2555). The psychology of Fear. [Online]. Available from: http://constructinghorror.com/index.php?id=61/. [2 February 2016]
Saussure, Ferdinand de. (2517). Course in General Linguistics. (trans. Wade Baskin). London: Fontana/Collins.
Sonnenschein, David. (2542). Sound Design: The Express Power of Music, Voice, and Sound Effect in Cinema. CA: Michael Wiese.
Woods, Gae-Lynn. (2558). The Effects of Sound in Human Brain. [Online]. Available from: http://www.livestrong.com/article/156262-the-effects-of-sound-in-the-human-brain/. [3 February 2016].
Van Vliet, Jeremias. (2453). Description of the kingdom of Siam. Translated by L.F. VANRAVENSWAAY. [Online]. Available from: http://www.siamese-heritage.org/jsspdf/1904/JSS_007_1b_Ravenswaay_VanVliets-DescriptionOfTheKingdomOfSiam-2.pdf/. [21 August 2016].

สัมภาษณ์
กิตติศักดิ์ สุวรรณโภคิณ. (สัมภาษณ์). 16 สิงหาคม 2558.
กิตติศักดิ์ สุวรรณโภคิณ. (สัมภาษณ์). 27 กันยายน 2559.
เกรียงไกร วชริรธรรมพร. (สัมภาษณ์). 17 สิงหาคม 2558.
จุมพล ทองตัน. (สัมภาษณ์). 23 กันยายน 2559.
Hocks, Richard. (สัมภาษณ์). 28 กันยายน 2559.