วาทกรรมของหนังสือพิมพ์ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในปี พ.ศ.2556

Main Article Content

อริน เจียจันทร์พงษ์

Abstract

This research explored newpapers’ discourse concerning arguments for and agaist Thai constitutional amendment in 2013 using a critical discourse analysis developed by Norman Fairclough. During April 1st- December 10th, 2013, from constitutional amendment’s parliamentary proposal to dissolution, the study focuses on two groups of newspapers, Matichon and Thaipost.
The study found that all studied newspapers delivered discourse for and against as well as criticizing constitutional amendment. There were several ways pushed to distribute dominant discourse to readers such as the front page arrangement, news angle selection, quoted sources, news framing, newspaper identity, style and language. Moreover, editorials and columnists’ articles were used to present the newspaper’ point of views.
The reasons why newspaper had to presents their political standpoints explicitly were based upon political ideology of the public, economic interest especially for niche markets, and different professional understanding. Nonetheless, political ideology seemed to be the most influential understanding, and at the same time, showed a clash of political beliefs between the objectors perceiving that politicians were endangering democracy and the Constitution and the supporters who perceiving that Constitution made by a military was imperiling popular sovereignty, a heart of democracy.

Article Details

Section
Articles
Author Biography

อริน เจียจันทร์พงษ์, คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร

อริน เจียจันทร์พงษ์ (นศ.ม. การสื่อสารมวลชน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 (อีเมล: arin_115@hotmail.com) ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร

References

ภาษาไทย
กรรมการนักมวย. (2556). มติชน (27 เมษายน 2556): 2.
กองบรรณาธิการ สำนักกฎหมาย. (2556). “พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย : หลักนิติธรรมกับสภาพของสังคมประเทศไทย”. จุลนิติ. 9, 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555): 15-28.
เกศกนก ชุ่มประดิษฐ์ (2554). “การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์ว่าด้วยเรื่องรัฐประหาร 19 กันยายน 2549”. วิทยานิพนธ์ วารสารศตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 18-22/2555 วันที่ 13 กรกฏาคม 2555
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 15-18/2556 วันที่ 20 พฤศจิกายน 2556
ชนิกานต์ พุ่มพิรัฐ. (2556). “เพื่อไทยเปิดหน้าชนศาลรัฐธรรมนูญ”. คมชัดลึก (1 พฤษภาคม 2556): 4.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2556). ภาษากับการเมือง/ความเป็นการเมือง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551. ถึงยุคสภาท้าทายศาล. ไทยรัฐ (23 เมษายน 2556): 3.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2534). รายงานโครงการวิจัยเสริมหลักสูตรเรื่อง วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์แบบวงศาวิทยา (Genealogy), คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นฤมล เกษมสุข. (2551). “หนังสือพิมพ์กับกรอบในการสะท้อนระบอบทักษิณวิเคราะห์ตามแนวคิดของนิทเช่”. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวารสารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2556). รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องสถานะและบทบาทของศาลรัฐธรรมนูญไทยภายใต้กรอบทิศทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2557.
“นี่หรือประมุขฝ่ายนิติบัญญัติ”. ไทยโพสต์ (21 สิงหาคม 2556): 2.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์. (2556). “ข้อถกเถียงเรื่องการปฏิรูป สภาขุนนางในอังกฤษ”. มติชน (27 สสสิงหาคม 2556): 6. “ระบบคณาญาติจงเจริญ?”. ไทยรัฐ (21 สิงหาคม 2556): 3.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2558). หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม. [ออนไลน์]. 2553. แหล่งที่มา: www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=1431, [2 มิถุนายน 2558]
วิษณุ อาณารัตน์. (2556). “เหตุผล/ข้ออ้างในการทำรัฐประหาร 19 กันยายน 2549”. ภาคนิพนธ์รัฐศาตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมถวิล เทพสวัสดิ์. (2556). “จับตาทบทวนที่มาสภาผัวเมีย เสียเวลาไม่ว่า เสียหน้าเรื่องใหญ่!”. คมชัดลึก (4 กันยายน 2556): 4.
สฤณี อาชวานันทกุล. (2558). ประชามติที่แท้จริง: บทเรียนจากประชามติรัฐธรรมนูญ 2550. [ออนไลน์]. 2558. แหล่งที่มา: http://thaipublica.org/2015/05/genuine-referendum/, [10 สิงหาคม 2558]
ส.ว.-ยึดโยงประชาชน (2556). มติชน (21 สิงหาคม 2556): 2.
หนังสือพิมพ์คมชัดลึก ฉบับวันที่ 1 เมษายน – 10 ธันวาคม 2556
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 1 เมษายน – 10 ธันวาคม 2556
หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 1 เมษายน – 10 ธันวาคม 2556
หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับวันที่ 1 เมษายน – 10 ธันวาคม 2556
อภิชาต ศิริสุนทร. (2552). “การรัฐประหาร 19 กันยายน กับอิทธิพลของอมาตยาธิปไตย”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อริน เจียรจันทร์พงษ์. (2559). วาทกรรมของหนังสือพิมพ์ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ในปีพ.ศ. 2556. กองทุนวิจัยและสร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปี 2556 ภายใต้การกำกับดูแลของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2555). คิดอย่างมิเชล ฟูโกต์ คิดอย่างวิพากษ์: จากวาทกรรมของอัตบุคคล ถึงจุดเปลี่ยนของอัตตา. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์, อริน เจียรจันทร์พงษ์, วันเพ็ญ แถมอุทุม และ ธิติมา อุรพีรพัฒน์พงศ์. (2556). รายงานวิจัยเรื่องการจัดทำ Media Inside Out, ผู้สนับสนุนโครงการวิจัย USAID โครงการสะพาน.
เอเอสทีวีผู้จัดการออนไลน์. (2559). คมชัดลึกถอดคอลัมน์ “พิชญ์-ใบตองแห้ง” เจ้าตัวเผยผลสำรวจคนอ่านเกลียดเยอะสุด. [ออนไลน์]. 2556. แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx? NewsID=9560000028694, [21 เมษายน 2559]

ภาษาอังกฤษ
Van Dijk, T. A. (2001). “Critical Discourse Analysis”. In Schiffrin, D., Tannen, D, and Hamilton, H. (eds), The Handbook of Discourse Analysis (Chapter 18), Massachusetts: Blackwell Publishers Ltd.
Entman, R. M. (1993). “Framing: Toward clarification of a fractured paradigm”. Journal of Communication, 43(4), 51-58.
Fairclough, Norman. (1995a). Media Discourse. London: Edward Arnold.
Fairclough, Norman. (1995b). Critical discourse analysis: the critical study of language. London: Longman.
Fairclough, Norman. (1998). “Political Discourse in the media”. In Bell, A., and Garett, P. (eds), Approach to Media Discourse (pp. 142-162), London: Blackwell Publishing Ltd.
Kovach, Bill., and Rosenstiel, Tom. (2007). The Elements of Journalism. New York: Three Rivers Press.
McHoul, A., and Grace, W. (2002). A Foucault Primer: Discourse, Power and the Subject. London: Taylor & Francis e-Library, Chapter 1-2.
McQuail, D. (2010). Mass Communication Theory. 6th ed. Los Angeles, London, New Delhi.
Singapore and Washington DC: SAGE Publications Ltd. Shoemaker, P.J., and Reese S.D. (1996). Mediating the Message: Theories of Influences on Mass Media Content. 2nd Edition. USA: Longman.
Talbot, Mary. (2007). Media Discourse: Representation and Interaction. London: Edinburgh University Press Ltd, Chapter 1.