การศึกษากลยุทธ์การสื่อสารแนวคิดการตลาดเชิงประสบการณ์ของสถานที่ท่องเที่ยว ดาษดา แกลเลอรี่

Main Article Content

สุพรรณี สมศรี
พัชนี เชยจรรยา

Abstract

The objectives of this study were 1) To explore the strategic of communicating through the Experiental Marketing of Dasada gallery 2) To study the decision-making, customer satisfaction and behavior of the tourists. The qualitative method and quantitative method was employed in this study. The qualitative research uses in-depth interviews with administrators and practitioners of the Dasada gallery. The quantitative research was used as a survey tool. A survey was conducted among 400 respondents who were 25 – 56 years old. The results showed that 1) The activities at Dasada Gallery ware communicate the concepts of experiential marketing. The design place and food represented the Creativity Strategy.
2) The the representative samples had a perception of the information from word of mouth such as family, friends, acquaintances. And the representative samples were satisfied with the decorated place.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

สุพรรณี สมศรี

สุพรรณี  สมศรี (นศ.ม. คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560;  pick_bakkok@hotmail.com)

พัชนี เชยจรรยา, คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

พัชนี เชยจรรยา (นศ.ม. นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ประจำคณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

References

ภาษาไทย
ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิต. (2549). กลยุทธ์การบริหารประสบการณ์ของลูกค้า. กรุงเทพฯ: แบรนด์เอด.
ชุมพล รอดแจ่ม. (2555). เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. สืบค้นจาก http://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/RC_RR/2555
_Account_Chumpon.pdf
ณรงค์ สมพงษ์. (2543). สื่อสารมวลชนเพื่องานส่งเสริม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ฐานเศรษฐกิจ. (2559,9 มกราคม). ประติมากรรมดอกไม้แห่งปี ดาษดา แกลเลอรี่ เขาใหญ่. ฐานเศรษฐกิจ, น.27.
ฐานเศรษฐกิจออนไลน์.(2559,15 กุมภาพันธ์).เปิดใจGEN2สร้างโมเมนตัม ‘ดาษดา’ เที่ยวได้ตลอดทั้งปี.ฐานเศรษฐกิจออนไลน์.สืบค้นจาก http://www.thansettakij.com/content/31133
ไทยรัฐออนไลน์.(2556, 24 ธันวาคม).สัมผัสดอกไม้เมืองหนาวดาษดา แกลเลอรี่. ไทยรัฐออนไลน์.สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/391284
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์.(2560, 21 ธันวาคม). ดาษดา แกลเลอรี่ เปิด “เทศกาลดอกไม้” ยิ่งใหญ่แห่งปี.ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/spinoff/lifestyle/news-90954
ณัฐิตา กัลป์ศรี และ สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์. (2556). กลยุทธ์และประสิทธิผลการสื่อสารการตลาดเชิงประสบการณ์ ของเขาเขียวเอสตาเต้ แคมป์ปิ้ง รีสอร์ท แอนด์ซาฟารี จ.ชลบุรี. สืบค้นจากhttp://digital_collect.lib.buu.ac.th/ojs/index.php/huso2/article/view/2591/31
ธัญญลักษณ์ ศิริวรรณางกูล. (2554). แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบฟาร์มสเตย์ จังหวัดสระบุรี. สืบค้นจาก http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/144680.pdf
ธันยา พรหมบุรมย์ และ นฤมล กิมภากรณ์. (2558). การรับรู้ของนักท่องเที่ยวต่างชาติต่อแบรนด์ท่องเที่ยวไทย ภาคใต้แคมเปญ “AMAZING THAILAND.” สืบค้นจาก http://www.tourismtaat.siam.edu/
images/magazine/m10b1/30-42.pdf
ผู้จัดการรายวัน. (2558, 24 ธันวาคม). ชมกล้วยไม้งามละลานตา ณ “ดาษดาแกลเลอรี่”.ผู้จัดการรายวัน, น.17.
วันทิกา หิรัญเทศ. (2552). ปัจจัยทางการตลาดกับการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยกรณีศึกษาตลาดน้ำ ไทรน้อย อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี.สืบค้นจากhttp://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/RC_RR/2552_
Hotel_Wuntika.pdf
ศิริเพ็ญ ดาบเพชร. (2557). การเลือกสถานที่ท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวครั้งแรกและนักท่องเที่ยวซ้ำ. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 9(2), 30-59.
ศุภลักษณ์ อัครางกูร. (2548). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
สุภัค มหารมย์. (2556). กลยุทธ์การสร้างความสัมพันธ์เชิงประสบการณ์ (Experiential Relationship Strategy) ที่มีผลต่อการตัดสินใจการเลือกใช้บริการผลิตภัณฑ์ด้านการเงิน ของ บมจ. ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ของผู้บริโภคในจังหวัดสุพรรณบุรี. สืบค้นจากhttp://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/1236
อดุลย์ จาตุรงคกุล และคณะ. (2546). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: บริษัทเพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไช น่า จำกัด.
เอนก สุวรรณบัณฑิต และ ภาสกร อดุลพัฒนกิจ. (2548). จิตวิทยาบริการ กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อดุลย์พัฒนกิจ.
อาภา เอราวัณ. (2545). บทบาทการสื่อสารแบบบอกต่อในการตัดสินใจซื้อ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ภาษาอังกฤษ
Donohew, L., & Tipton, L. (1973). A conceptual model of information seeking, avoiding, and processing. In P. Clark (Ed.), New models for mass communication research, (pp. 243-268). Beverly Hill: Sage.
Katz, E., & Lazarsfeld, P.F. (1998). Personal influence. Glencoe, IL: Free.
Kotler,P., Bowan, J. T. ,& Makens, J. C. (1999). Marketing for hospotality and tourism(2nd ed.) Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Oztürk, R. (2015). Exploring the relationships between experiential marketing. customer satisfaction and customer loyalty: An empirical examination in konya,World Academy of Science, Engineering and Technology International Journal of Economics and Management Engineering 9(2), 2810-2817.
Rajput, N., & Dhillon, R. (2013). Frontiers of the marketing paradigm for the third millennium: Experiential marketing. Global Journal of Management and Business Studies, 3, 711–724.
Schmitt, B. H. (1999). Experiential marketing. New York: The Free Press.
Smilansky, S. (2009). Experiential marketing : A practic guide to interative brand experiences. London: Kogan Page.