Book Review: Place, Time and Being in Japanese Architecture

Main Article Content

Santirak Prasertsuk

Abstract

สถาปัตยกรรมญี่ปุ่นได้ถูกนำมาวิเคราะห์ผ่านทางผลงานวิชาการ สื่อ และสิ่งพิมพ์รูปแบบต่าง ๆ นับไม่ถ้วน จนอาจจะกล่าวได้ว่าไม่หลงเหลือประเด็นหรือแง่มุมให้ค้นหาหรือชำแหละจนเกิดเป็นสาระขององค์ความรู้ใหม่ๆได้อีกแล้ว โดยเฉพาะในประเด็นของการค้นหาหรืออธิบายถึง ‘ความเป็นญี่ปุ่น (Japan-ness)’ ในเชิงสถาปัตยกรรมนั้น มีงานเขียนที่ให้ภาพชัดเจนในเชิงประวัติศาสตร์และการวิเคราะห์ เช่น Japan-ness in Architecture ของสถาปนิก อาระตะ อิโซซากิ Arata Isozaki (2011) ที่อธิบายย้อนถึงจุดเริ่มต้นของ ‘ความเป็นญี่ปุ่น’ ซึ่งเกิดมาจากกระแสของวัฒนธรรมตะวันตกที่ไหลบ่าเข้ามายังเกาะญี่ปุ่นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา ‘ความเป็นญี่ปุ่น’ จึงกลายเป็นวาระสำคัญของชาติที่ถูกนิยามขึ้นเพื่อต่อต้าน ขัดขืนการครอบงำของ ‘ความเป็นสมัยใหม่’(Modernity) จากตะวันตก โดยปรากฏงานเขียนหลายชิ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ช่วยตอกย้ำถึง ‘ความเป็นญี่ปุ่น’ ในเชิงรากฐานปรัชญาและวิถีปฏิบัติที่ต่างไปจากปรัชญาของตะวันตก เช่น The Book of Tea1และ In Praise of Shadow2 เป็นต้น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Book Review

References

Isozaki, A. (2011). Japan-ness in Architecture. Cambridge: The MIT Press.

Kakuzo, Okakura. (2553). The Book of Tea (translated by Pravit Rojanapruek and Karin Klinkajorn). Bangkok: Openbooks.

Tanizaki, Junichiro. (1977). In Praise of Shadow. Maine: Leete’s Island Books.