Architecture in a Climate of Change A Guide to Sustainable Design

Main Article Content

Panjira Tisavipat

Abstract

คลื่นความร้อนแผ่ปกคลุมหลายพื้นที่ในทวีปยุโรป และอเมริกา น้ำแข็งบนผิวโลกละลายเร็วผิดปกติ พายุ เฮอริเคนโหมกระหน่ำหนักที่สุดในรอบ 50 ปี หิมะตกใน ทวีปอเมริกากลาง การเกิดไฟป่าลุกลามพื้นที่กว่าครึ่งประเทศ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ ไม่ใช่เรื่องปกติที่เคยเกิดขึ้น แต่เป็นสัญญาณบางอย่างที่บ่งบอกว่า สภาพแวดล้อมโดย รวมของโลกใบนี้กำลังเกิดความผันผวนและผิดแปลกไป ภาวะโลกร้อน หรือ global warming กลายเป็น ประเด็นและปัญหาหลักของสังคมโลกในปัจจุบันอย่างรวดเร็ว โดยไม่ทันตั้งตัว สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้ส่งผลกระทบ กระจายครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่บนโลกในระดับความรุนแรง ที่แตกต่างกัน หากสังเกตความเป็นไปต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจะพบว่า ในบางประเทศได้มีสัญญาณเตือนล่วงหน้าบางอย่างเกิดขึ้นมา เป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว เช่น จำนวนและระดับความรุนแรง ของพายุที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง สภาพภูมิอากาศที่ผิดปกติ ไปจากเดิม การเกิดโรคระบาดร้ายแรงชนิดใหม่ ๆ เป็นต้น การใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่เกินควรจนส่งผลให้ ธรรมชาติเสียความสมดุลและเกินกว่าจะบำบัดรักษาได้ด้วยตัวเองจึงกลายเป็นสาเหตุและที่มาสำคัญของการเกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Book Review

References

บิล แมกคิบเบน. (2550, ตุลาคม). สมการใหม่ของวิกฤติคาร์บอน. National Geographic (ฉบับภาษาไทย), 43-47.

IPCC. (2007). Summary for policymakers. In S. Solomon, D. Qin, M. Manning, Z. Chen, M. Marquis, K. B. Averyt, M. Tignor, & H. L. Miller (Eds.), Climate change 2007: The physical science basis. Contribution of working group I to the fourth assessment report of the intergovernmental panel on climate change (pp. 2, 5, 13). Cambridge, UK and New York: Cambridge University Press.

Pacala, S., & Socolow, R. (2004, August 13). Stabilization wedges: Solving the climate problem for the next 50 years with current technologies. Science, 305, 968-972.

สำนักสิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร. (2550). ภาวะโลกร้อน (global warming). สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2551, จาก http://203.155.220.217/dopc/hotworld/ภาวะโลกร้อน1.htm

Smith, P. F. (2005). Architecture in a climate of change A guide to sustainable design (2nd ed.). Oxford, UK: Architectural Press.

Salmon, M. (2003). The Zuckerman Institute for Connective Environmental Research. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2551, จาก http://www.uea.ac.uk/zicer/zuckermaninstitute.jpg

Tovey, K. (2007). The ZICER Building, Its construction and performance and other low carbon strategies at UEA. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2551, จาก http://www2.env.uea.ac.uk/cred/creduea.htm

Lee, E. (2007). The Lighthouse: Dubai’s 1st low carbon commercial tower. สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2550, จาก http://www.inhabitat.com/2007/05/01/the-lighthouse-dubais-1st-low-carbon-commercialtower/

Photographic Timeline. (n.d.). สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2550, จาก http://www.melbourne.vic.gov.au/rsrc/Images/CH2/timeline/21Feb06big.jpg

Morris-Nunn, R. (2007). CH2. สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2550, จาก http://www.architectureaustralia.com/aa/aaissue.php?issueid=200701&article=14&typeon=2

Rapaport, R. (n.d.). Bending the grid. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2551, จาก http://www.som.com/content.cfm/treasure_island_master_plan

ทิม แอปเพนเซลเลอร์. (2550, มิถุนายน). วิกฤติโลกร้อน. National Geographic (ฉบับภาษาไทย), 84-99.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (n.d.). ประวัติความเป็นมาของพิธีสารเกียวโต. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2550, จาก http://www.onep.go.th/cdm/unf_kyoto_his.html

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (n.d.). พิธีสารเกียวโตของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2550, จาก http://www.onep.go.th/cdm/KyotoProtocolText_Thai.pdf

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (n.d.). CDM. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2550, จาก http://www.onep.go.th/cdm/cdm.html

City and County of San Francisco. (n.d.). Master development information. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2551, จาก http://www.sfgov.org/site/treasureisland_page.asp?id=21914#revterm