Strategic Application Based on Righteousness
Main Article Content
Abstract
องค์กรธุรกิจสามารถดำเนินกลยุทธ์บนพื้นฐานความชอบธรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งความสำเร็จอย่างยั่งยืน เนื่องจากกลยุทธ์ ดังกล่าวไม่เพียงแต่สามารถก่อให้เกิดความเชื่อมั่นจากทีมงานผู้คิดและปฏิบัติเท่านั้น ยังรวมไปถึงการยอมรับและการสนับสนุนจาก ผู้บริโภคและสังคม อีกทั้งความชอบธรรมดังกล่าวยังช่วยให้องค์กรธุรกิจไม่ต้องเผชิญกับกระแสคัดค้านหรือต่อต้านจากพลัง มวลชนที่เคลือบแคลงใจ ทั้งนี้ ผลประโยชน์ที่องค์กรธุรกิจจะได้รับจากการดำเนินกลยุทธ์เพื่อความชอบธรรมนั้นจะขึ้นอยู่กับระดับ ชั้นของกลยุทธ์ที่องค์กรเลือกใช้ นับตั้งแต่ภาพลักษณ์ที่ดีและผลประโยชน์ในการหักลดหย่อนภาษี จากการใช้กลยุทธ์พื้นฐานอย่าง ‘การคืนกำไรให้สังคม’ ไปจนถึงระดับภาพลักษณ์ที่ดีเยี่ยมยอด และความได้เปรียบเชิงการแข่งขันอย่างสูงสุด ถึงระดับที่สามารถ ผลักดันมาตรฐานการผลิตของตนให้กลายมาเป็นมาตรฐานหลักของอุตสาหกรรมที่ทั้งผู้บริโภคและคู่แข่งขันต่างยอมรับและดำเนินการ ตามโดยดุษฎี จากการใช้กลยุทธ์ชั้นสูงอย่างในกรณีของ IBM Compatible อย่างไรก็ตาม องค์กรธุรกิจพึงต้องระมัดระวังใน การตีความความชอบธรรมที่ตนจะใช้ไม่ให้สวนกระแสสาธารณชน มิฉะนั้นการดำเนินกลยุทธ์ดังกล่าวขององค์กรจะถูกบิดเบือน กลายเป็นการดำเนินกลยุทธ์โดยอ้างความชอบธรรมไป
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
All material is licensed under the terms of the Creative Commons Attribution 4.0 International (CC-BY-NC-ND 4.0) License, unless otherwise stated. As such, authors are free to share, copy, and redistribute the material in any medium or format. The authors must give appropriate credit, provide a link to the license, and indicate if changes were made. The authors may do so in any reasonable manner, but not in any way that suggests the licensor endorses you or your use. The authors may not use the material for commercial purposes. If the authors remix, transform, or build upon the material, they may not distribute the modified material, unless permission is obtained from JARS. Final, accepted versions of the paper may be posted on third party repositories, provided appropriate acknowledgement to the original source is clearly noted.
References
ซุ นวู. (2540). พิชัยสงครามซุนวู ฉบับ 133 ตัวอย่างการยุทธ์. แปลจาก ตำราพิชัยสงคราม 13 บท และการสงครามในประวัติศาสตร์จีน 133 เหตุการณ์ โดย อธิคม สวัสดิญาณ และอดุลย์ รัตนมั่นเกษม. กรุงเทพฯ: ขุนเขา.
ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย และอาทิตย์ โกวิทวรางกูร. (2549). Case study 9.0: Phenomenon; Win mob, win mass, win market. กรุงเทพฯ: แบรนด์เอจบุ๊คส์.
วิริญญ์บิดร วัฒนา. (บรรณาธิการ). (2543). สุดยอดคัมภีร์ธุรกิจ เล่ม 2: ยุคเฟื่องฟู. กรุงเทพฯ: บริษัทสื่อดี.
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2543). โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: มติชน.
Gates, B. (2543). เส้นทางสู่อนาคต. แปลจาก The road ahead โดย วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ เอกศักดิ์ แดงเดช และนารีรัตน์ ลุ่ มเจริญ. กรุงเทพฯ: ซอฟต์แวร์ปาร์ค.
Marconi, J. (2549). สร้างตลาดด้วยคุณธรรม. แปลจาก Cause marketing โดย คำนวน ประสมผล และรัชนี เพ็งแก้ว. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ.
Moschella, D. C. (1997). Waves of power: The dynamics of global technology leadership 1964-2010. New York: Amacom.
Porter, M. E., & Kramer, M. R. (2002). The competitive advantage of corporate philanthropy. Harvard Business Review, 80. MA: Harvard Business School.
Wertime, K. (2546). สร้างแบรนด์ด้วยศรัทธา. แปลจาก Building brands & believers โดย วรรณคำ. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ.