มโนทัศน์ทางการเมืองของกลุ่มคนรุ่นใหม่ในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Main Article Content

สิทธิศักดิ์ ไกรสินธุ์
สุพัฒพงศ์ แย้มอิ่ม
ชนัญชิดา ทิพย์ญาณ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุเพื่อ 1) ศึกษาและเสนอรูปแบบมโนทัศน์ทางการเมือง ผ่านความเห็นทางการเมืองของกลุ่มคนรุ่นใหม่ ในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาและเสนอรูปแบบมโนทัศน์ทางการเมือง และ 3)เพื่อศึกษาและเสนอรูปแบบมโนทัศน์ทางการเมือง ผ่านความเปลี่ยนแปลงทางสังคมของกลุ่มคนรุ่นใหม่ การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ นำเสนอผลวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อมุ่งเน้นศึกษามโนทัศน์ทางการเมืองของกลุ่มคนรุ่นใหม่ ในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี สู่การสรุปและอธิบายปรากฏการณ์ตามวัตถุประสงค์การวิจัย


จากการศึกษาพบว่า กลุ่มคนรุ่นใหม่ในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีมุมมองแนวความคิดและมโนทัศน์ทางการเมือง ที่มีความหลากหลาย แบ่งตามความเป็นอุดมการณ์ทางการเมืองได้ดังนี้ กลุ่มแรกคือกลุ่มปฏิกิริยา นั้นมีความตื่นตัวทางการเมืองมากที่สุดจากผลการสัมภาษณ์ที่ได้คำตอบแบบตรงไปตรงมา รวมถึงการตั้งคำถามและการแสดงความคิดเห็นต่อสถาบันทางการเมืองผ่านบทสัมภาษณ์ ต่อมาคือกลุ่มเสรีนิยมมีความโดดเด่นอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากบทสัมภาษณ์ที่มีมุมมองให้ความสำคัญกับ สิทธิ เสรีภาพ และผลประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน ซึ่งเป็นคำตอบที่พบได้ในบาทสัมภาษณ์ส่วนใหญ่จากทุกกลุ่มตัวอย่าง และอีกกลุ่มคือกลุ่มอนุรักษ์นิยมจากการสัมภาษณ์ในคำตอบส่วนหนึ่ง ที่ต้องการคงไว้ซึ่งสถาบันทางการการเมืองและแนวปฏิบัติทางสังคมแบบเดิมเอาไว้

Article Details

How to Cite
ไกรสินธุ์ ส., แย้มอิ่ม ส., & ทิพย์ญาณ ช. (2024). มโนทัศน์ทางการเมืองของกลุ่มคนรุ่นใหม่ในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารศิลปการจัดการ, 8(3), 742–759. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/272713
บท
บทความวิจัย

References

Bunphap, T. (2013). The role of new media in creating social values and identity of Thai youth in Bangkok. Dhurakij Pundit University.

Common School. (2023, September 26). Join in celebrating the end of the 18-year war from "Yellow-Red" into the "Dark Age" era. [Video]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=mxozumlueLY

Echo. (2020, October 6). Left-right in Thai politics [Video]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=4xSNXb2CriA

Office of the Royal Society. (2007, July 9). Know and love Thai language. http://legacy.orst.go.th/?knowledges

Phramaha Nirut Yannawuttho., & Phramaha Apiwat Abhivajjaro. (2022). The young generation with the Thai government in the new normal era. Journal of Interdisciplinary Innovation Review, 5(2), A125-A139. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jidir/article/view/258980

Plodkaew, J. (2019). Political news exposure behavior of people in Samut Prakan Province[Independent study, Ramkhamhaeng University].

Promlee, S. (2021). Two ages, Two cultures and Thai politics. Pannya Journal, Faculty of Political Science, Ramkhamhaeng University, 28(3), 164-171.

Raksakaew, P. (2019). Modern political concepts. Journal of Political Science and Public Administration. Mahachulalongkornrajavidyalaya University, 1(1), 44-52.

Scaramuzzino, G.M., & Scaramuzzino, R. (2017). The weapon of a new generation? - Swedish Civil Society Organizations’ use of social media to influence politics. Journal of Information Technology & Politics, 14(1). DOI: 10.1080/19331681.2016.1276501

Songwanngam, S. (2014). Factors affecting the behavior of viewers in choosing to watch news programs of television stations in Bangkok[Independent study, Nation University].

Surasanthi, K. (2012). Communication knowledge. Faculty of Journalism and Mass Communication, Thammasat University.

Techapira, K. (2017). New political landscape. Matichon Weekly. https://www.matichonweekly.com/column/article_42308

Thitikulcharoen, Y. (1994). Communication theory. Ramkhamhaeng University.