การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยววิถีชีวิตริมน้ำ หมู่บ้านหนองสรวง ตำบลกระแชง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

กานต์มณี ไวยครุฑ
ชาคริต ศรีทอง
อรวิกา ศรีทอง

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาศักยภาพด้านการท่องเที่ยววิถีชีวิตริมน้ำ 2) สร้างกลยุทธ์ในการพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตริมน้ำ และ 3) ออกแบบโมเดลธุรกิจในการพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตริมน้ำ ของหมู่บ้านหนองสรวง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ SWOT Analysis สร้างกลยุทธ์ด้วย TOWS Matrix และ โมเดลธุรกิจแคนวาส วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า


1) ศักยภาพด้านการท่องเที่ยววิถีชีวิตริมน้ำด้านจุดแข็งประกอบด้วย S1 สิ่งดึงดูดแหล่งน้ำธรรมชาติ S2 สิ่งอำนวยความสะดวก S3 การเข้าถึงชุมชนมีเส้นทางหลายเส้นทาง S4 ต้นทุนด้านท่องเที่ยว ในขณะที่จุดอ่อนประกอบด้วย w1 ไม่มีความรู้พัฒนากิจกรรม W2 สื่อประชาสัมพันธ์ W3 เส้นทางอยู่ระหว่างการซ่อมแซม W4 ห้องน้ำไม่เพียงพอ W5 ฤดูน้ำไม่สามารถต้อนรับนักท่องเที่ยวได้ W6 ไม่มีมาตรฐานการท่องเที่ยว W7 ขาดเงินทุน โดยโอกาส ประกอบด้วย O1 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมได้รับความนิยม O2 รัฐให้การสนับสนุน O3 ทุนวิจัย และอุปสรรค ประกอบด้วย  T1 ภัยพิบัติทางน้ำ T2 มีผักตบชวา T3 ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ T4 การแข่งขันการท่องเที่ยว


2) กลยุทธ์ในการพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตริมน้ำ ประกอบด้วยกลยุทธ์เชิงรุก จำนวน 1กลยุทธ์ กลยุทธ์เชิงแก้ไข จำนวน 3 กลยุทธ์ กลยุทธ์เชิงการป้องกัน จำนวน 1 กลยุทธ์ และกลยุทธ์เชิงรับ จำนวน 1 กลยุทธ์


3) โมเดลธุรกิจในการพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตริมน้ำ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1 ด้านการตลาด มุ่งเน้นถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายและการสร้างการรับรู้และสร้างคุณค่าในสินค้าและบริการให้กับกลุ่มเป้าหมาย 2 ด้านกระบวนการในการดำเนินงาน และ 3 ด้านการเงินที่แสดงรายรับ – รายจ่ายที่ต้องใช้ในการดำเนินงาน


 

Article Details

How to Cite
ไวยครุฑ ก., ศรีทอง ช., & ศรีทอง อ. (2024). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยววิถีชีวิตริมน้ำ หมู่บ้านหนองสรวง ตำบลกระแชง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารศิลปการจัดการ, 8(3), 78–97. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/269935
บท
บทความวิจัย

References

Bunnamsirikit, P., & Suthipisan, S. (2021). Unit 15 Cultral tourism towards sustainable tourism. Teaching materials for the culture subject set. Liberal Arts major Sukhothai Thammathirat Open University.

Chakthong, C., & Kaewnuch, K. (2022). Factors Affecting Active Agine Tourist’s Decision to Join Agrotourism Activity in Thailand. Journal of International and Thai Tourism, 18(1), 62-85.

Chantanee, M., & Inthason, S. (2023). Uprading the Potential of Creative Community – based Tourism to Develop the Area Based on the Local Identity of the Sri Ayutthaya Group Network in the Community Area of Khlong Chik. Journal of Arts Management, 6(3), 153-170.

Chouykaew, T., & Jirojkul, S. (2019). Pak Phanang’s River Cultural Route Development for Tourism Marketing Promotion, Pak Phanang District, Nakhon Si Thammarat Provice. Academic Services Journal Prince of Songkla University, 30(3), 80-97.

Dickman. S. (1966). Tourism: An Introductory Text. Hodder Education.

Jantawong, S. (2022). Guidelines for Community – Based Tourism Development in Area of Ban Tha Tian, Doem Bang Sub–district, Suphan Buri Province. The 19th KU KPS National Conference. Kasetsart University Kamphaeng Saen Campus. 8-9 December 2022.

Khamkerd, T., Rueangrit, U., Sangiemsilp, P., Therawat, J., & Markjan, C. (2020). Community – based Tourism Management Model on the Foundations of Sustainable Community Lifestyles of Tontan Subdistrict Songphinong District, Suphanburi Province. Raiamangala University of Technology Suvarnabhumi.

Leelakitpaisarn, Y., Chaovanapricha, K., Chuanchomb, J., Srinathiyawasina, T., Sriyothina, S., Wichasin, P., & Traiphong, P. (2024). Increasing Agro–Ecotourism Potential as a Learning Resource in Suphan Buri Province. Journal of Arts Management, 8(1), 401-417.

Ministry Tourism and Sports. (2023). National Tourism Development Plan. (3). Tourism Authority of Thailand.

Ministry Tourism and Sports. (2024). Tourism Statistics 2024. https://www.mots.go.th/news/category/760.

Na Thongkaew, B., Raksapol, A., Phengkona, J., & Jittapraphan, B. (2017). Potential and Guidelines for Tourism Development in Khanthuli Sub-district, Suratthani Province. Area Based Development Research Journal, 9(2), 106-121.

Pathan, A., Sopanik, S., Yodsuwan, C., Ching Tan, C., Phakdeephirot, N., & Srithiong, S. (2022). The Development of Business Model to Enhance Competence of Local Communities in Chiang Rai for MICE Travelers. School of Management, Mae Fah Luang University.

Sathunuchawat, P., Nawon, W., Daengcharoen, S., & Wangthichob, P. (2019). Development of Community Tourism (OTOP Village) at Nong Suang Village Krachang Sub District Bang Sai District Phranakhon Si Ayutthaya Provice. Journal of Management Science Review, 1(1), 25-32.

Thaothampitak, W., & Choibamroong, T. (2019). The Potential of Cultural World Heritage Tourism Site in Thailand: A Case Study of The Historic City of Ayutthaya. The Journal of Social Communication Innovation, 7(1), 35-45.

Polnyotee. M., Nooniam, S., & Sakulvanitcharoen, S. (2022). Sustainable Community – Based Tourism Development Guideline: A Case Study of Tai Dam Community at Ban Na Pa Nard, Chiang Khan District, Loei Province. Journal of International and Thai Tourism. 18(1), 1-25.

Tancharoen, S. (2017). Community Based Turism Management and Sustainable Tourism Development of Bangkantaek Community in Samutsongkhram Province. Journal of International and Thai Tourism. 13(2), 1-24.