การยอมรับระบบคลาวด์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศการบัญชีภาคธุรกิจ สำหรับผู้ทำบัญชี

Main Article Content

ธัญกานต์ คชฤทธิ์
กุสุมา ดำพิทักษ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการยอมรับระบบคลาวด์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศการบัญชีภาคธุรกิจ สำหรับผู้ทำบัญชี และ 2) เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมขององค์กรที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศการบัญชีภาคธุรกิจ สำหรับผู้ทำบัญชี รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ทำบัญชีปฏิบัติงานในภาคธุรกิจ ที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ


ผลการวิจัยพบว่า 1) การยอมรับระบบคลาวด์ ซึ่งประกอบไปด้วย ด้านการรู้ถึงการได้รับประโยชน์ ด้านการรู้ถึงความใช้งานที่ง่าย และด้านการรับรู้เทคโนโลยี ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศการบัญชีภาคธุรกิจ สำหรับผู้ทำบัญชี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) สภาพแวดล้อมขององค์กร ซึ่งประกอบไปด้วย ด้านปัจจัยภายในองค์กร และด้านปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศการบัญชีภาคธุรกิจ สำหรับผู้ทำบัญชี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

How to Cite
คชฤทธิ์ ธ., & ดำพิทักษ์ ก. . (2020). การยอมรับระบบคลาวด์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบสารสนเทศการบัญชีภาคธุรกิจ สำหรับผู้ทำบัญชี. วารสารศิลปการจัดการ, 4(1), 13–22. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/239952
บท
บทความวิจัย

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). จำนวนสถานประกอบการภาคธุรกิจ สถานะของนิติบุคล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560. สืบค้นจาก http://www.dbd.go.th/news_view.php?nid=469407271

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2558). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาญชัย อรรคผาติ. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติในการยอมรับในเทคโนโลยีคลาว์ดคอมพิวติ้ง เพื่อประยุกต์ใช้ในการให้บริการระบบบัญชีออนไลน์ สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในมุมมองของผู้ทำบัญชี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. กรุงเทพฯ

เยาวนุช ใจรักสงฆ์. (2561). ปัจจัยที่ผลต่อการยอมรับและการใช้ระบบบัญชีออนไลน์แบบคลาวด์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น

Davis, F.D. (1989).Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology. MIS Quarterly, 13(3), 319-40.

Ellitan, L. (2002). Factors Influencing an Access of Technology Adoption: A Case Study of Indonesian Manufacturing. (Master Thesis), Universitas Kristen Petra, Surabaya, Indonesia.

Hair, J. F. Jr, Black, W.C., Babin, B. J. Anderson, R.E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate Data Analysis (6th ed.) Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Johnston S. (2009). The Cloud and Cloud Computing consensus definition. Retrieved from

https://samj.net/2008/07/24/the-cloud-and-cloud-computing-consensus-definition/

Marius MARIAN. (2012). Guidelines for Increasing the Adoption of Cloud Computing within SMEs,

CLOUD COMPUTING 2012: The Third International Conference on Cloud Computing, GRIDs, and Virtualization, ISBN: 978-1-61208-216-5.

Morgan Lorraine Lero and Conboy Kieran. (2013). Factors Affecting on the Adoption of Cloud

Computing: An Exploratory Study, Proceedings of the 21st European Conferences on

Information System.

Nutanix, (2019). Enterprise Cloud Index 2019 Edition Application Requirements to Drive Hybrid Cloud Growth. Access from https://www.nutanix.com/enterprise-cloud-index

Pedhazur, E. J. (1997). Multiple Regression in Behavioral Research: Explanation and Prediction. (3rd ed). Fort Worth: Harcourt Brace College Publishers.

Faith, S. (2010). Cloud Computing: Strategies for Cloud Computing Adoption, Masters Dissertation. Dublin, Dublin Institute of Technology.

Stanislav, N. (2014). Exploring the factors influencing the adoption of Cloud computing and the challenges faced by the business. The ACES Journal of Undergraduate Research.

Studenmund A.H. (2011). Using Econometrics A Practical Guide. (6th ed.). Bangkok Pearson Education Indochina.

Vaquero L.M., Luis Rodero-Merino, Juan Caceres & Maik Lindner. (2009). A break in the clouds: towards a cloud definition. SIGCOMM Comput. Commun. Rev.0146-4833. 39, 50-55.

Yamane, T. (1983). Statistics: An Introduction Analysis. Tokyo: Hapa International Edition.