องค์ประกอบและรูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน

Main Article Content

พระครูกิตติญาณวิสิฐ ธนา หอมหวล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบและรูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน 2) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันรูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน 3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 500 คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติบรรยายการวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองด้วย โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์


ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบและรูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน พบว่า องค์ประกอบที่ความเหมาะสมนั้น จำแนกออกเป็น 5 องค์ประกอบหลัก 80 รูปแบบ


องค์ประกอบเชิงยืนยันรูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืนพบว่า องค์ประกอบทุกข้อนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.001 มีพิสัยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ตั้งแต่ 0.063 ถึง 0.535 องค์ประกอบที่ความสัมพันธ์กันสูงสุดคือ องค์ประกอบด้านลักษณะของการบริหาร และองค์ประกอบด้านการบริหารแนวพุทธ โดยองค์ประกอบมีความสัมพันธ์กัน และมีความเหมาะสมที่ใช้วิเคราะห์รูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน อยู่ในระดับดีมาก สามารถที่จะนำไปวิเคราะห์รูปแบบได้


รูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน พบว่า รูปแบบมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 =  95.99, df = 79, p = 0.09) ซึ่งแตกต่างจากศูนย์อย่างไม่มีนัยสำคัญ ค่าดัชนีความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ 0.98 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) มีค่าเท่ากับ 0.95 ค่ารากกำลังสองของค่าเฉลี่ยของส่วนที่เหลือ (RMR) มีค่าเท่ากับ 0.16 และ ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองของการประมาณค่า (RMSEA) มีค่าเท่ากับ 0.02

Article Details

How to Cite
ธนา หอมหวล พ. . (2022). องค์ประกอบและรูปแบบการเชื่อมโยงการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน. วารสารศิลปการจัดการ, 6(1), 324–339. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/253202
บท
บทความวิจัย

References

Ayuwat, T. (2009). Best practices in academic administration of small-size basic education school[Doctoral dissertation, Silpakorn University].

Chayamarit, S. (2021). Human resource development to accommodate the public and private sector organizations in the digital age. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences, 4(1), 38–50.

Damnoen, P.S. (2021). The Development of Student Characteristics in According to the Nawaluk Framework of the Buddhist integration of Buddhapanya Sri Thawarawadee Buddhist College. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 5(2), 126-135.

Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). Thai Tripitaka. MCU Press.

Mahasuthanon, T. (2002). Principles of management and management principles. Thanat Printing.

Maslow, A. (1987). Motivation and Personality. Harper and Row Publishers.

Ministry of Education. (1999). Ministry of Education and education reform driving. Shipping and Package Printing Organization.

Mongkolvanich, J. (2012). Organizational Administration and Educational Personnel. V. Print.

Office of the Education Council Secretariat. (2017). National education plan 2017 – 2036. Prikwan Graphic.

Phra Dhammakosajarn (Prayoon Dhammacitto). (2010). Managing a Buddhist organization, choosing Dharma to meet the problems through the crisis. Prachachat Business Newspaper.

Phumphongkhochasorn, P., Damnoen, P. S., Suwannaprateep, T., & Phoomparmarn, U. (2021). National Educational Standards and the Improvement of Thai Education System with World Class. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 5(1), 75-86.

Pongsrirot, S. (1997). Organization and Management (7th ed.). Technic 19 Limited Partnership.

Potisuwan, J. (2021). Strategic leader behaviors. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences, 4(1), 135–148.

Puttaradomnoensuk, O., & Tonwimonrat, S. (2021). The transformational leadership of administrators and job motivation of teachers in school under Samutsongkram primary educational service area office. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social

Sciences, 4(3), 1172–1187.

Sararatana, W. (2003). Educational administration, principles, theory, functions, issues and analysis. Thiphawisut Printing.

Songsraboon, R., Thongtao, J., Damnoen, P. S., & Huanjit, P. S. (2021). Course Management Based on Outcome-Based Education (OBE) of Learning by Working in Real Conditions. Turkish Journal of Physiotherapy and Rehabilitation, 32(3), 20491–20499.

Srichan, A., & Usaho, C. (2021). A Needs Assessment of Developing Sub-district Quality School Management Based on The Concept of School as A learning Community. Educational Management and Innovation Journal, 4(3), 21-37.

Sudtae, K., Wongkasem, S., & Phoglin, S. (2010). Development of academic administration model for small sized schools. Rajabhat Maha Sarakham University Journal, 4(2), 127-136.

Tan, C. C., & Damnoen, P. S. (2020). Buddhist Noble Eightfold Path Approach in the Study of Consumer and Organizational Behaviors. Journal of MCU Peace Studies, 8(1), 1–20.