การประเมินโครงการฟ้าใสไร้มลพิษ สรรสร้างเศรษฐกิจชุมชน ของสำานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดลำปาง / Assessment Project Blue Sky with No Pollution, Create economic Community of Natural Resources and Environment Office, Lampang Province

ผู้แต่ง

  • อรรถวุฒิ พงษ์โสภาวิจิตร
  • ธนวิทย์ บุตรอุดม

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามโครงการฟ้าใสไร้มลพิษสรร
สร้างเศรษฐกิจชุมชน และเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับโครงการ
ฟ้าใสไร้มลพิษสรรสร้างเศรษฐกิจชุมชน ของสำานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจังหวัดลำาปาง โดยใช้รูปแบบการประเมินแบบ CIPP กลุ่มตัวอย่าง
แบบเฉพาะเจาะจง คือผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของสำานักงานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมจังหวัดลำาปาง จำานวน 18 คน และอาสาสมัครพิทักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่ควบคุม
มลพิษ จำานวน 150 คน เครื่องมือคือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติ
เชิงพรรณนาหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ
วิเคราะห์เพื่อหาผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้
1) ด้านบริบทพบว่าโครงการฟ้าใสไร้มลพิษสรรสร้างเศรษฐกิจชุมชน
มีความจำาเป็นและสอดคล้องกับการส่งเสริมสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย
ของประชาชน ทั้งนี้เพราะปัญหาหมอกควันและไฟป่าส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัยของประชาชน ทำาลายการท่องเที่ยวและกระทบการคมนาคมขนส่ง
2) ด้านปัจจัยนำาเข้า พบว่าด้านศักยภาพความสามารถ ความรับผิดชอบของ
เจ้าหน้าที่ แนวทางการจัดการดำาเนินงานโครงการฯ ความเพียงพอของงบประมาณ
มีความเหมาะสม 3) ด้านกระบวนการพบว่าช่วงเวลาดำาเนินโครงการมีความเหมาะสม มีการประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์และวิธีดำาเนินโครงการให้ประชาชน
เข้าใจอย่างชัดเจน และมีกิจกรรมมีความสอดคล้องหรือตรงกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการ 4) ด้านผลผลิตพบว่าโครงการได้ช่วยแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่า
การเผาในที่โล่ง การส่งเสริมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนต่างๆ อยู่ในระดับ
ปานกลาง
แนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น คือควรได้มีการเพิ่มประสิทธิภาพการ
ประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงเพื่อให้เกิดความตระหนักถึงปัญหา การเข้าร่วมกระบวน
ในการจัดการ ตลอดจนการส่งเสริมหมู่บ้านต้นแบบให้สามารถขยายองค์ความรู้
ไปสู่หมู่บ้านอื่นๆ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็นรูปธรรมชัดเจน ตลอดจนหาทาง
ป้องกันและแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างยั่งยืน

คำสำคัญ :
ประเมินผล / ปัญหาหมอกควันและไฟป่า /
การประเมินผลแบบ CIPP

The aims of this study were to assess the community
project “Blue Sky with No Pollution”, which was run by the
Office of Natural Resources and Environment to reduce air pollution,
and to suggest solutions to any problems which might have arisen
from the project. The CIPP model was used to evaluatethe project
Purposive sampling consisted of 18 executives and staff from the
Office of Natural Resources and Environment, Lampang Province
and 150 environmental volunteers and pollution control officials.
The research tools comprised questionnaires and interviews. The
data were analyzed by percentage, mean (x), standard deviation
(SD) and interview analysis. The findings were presented according
to the CIPP model.
1) In terms of the context, it was found that solving
problems with pollution was essential and in accordance with
the promotion of a ‘green environment’ and public healthcare
as a means of reducing problems with haze and forest fire which
adversely affect public health, tourism and traffic.
2) In terms of the input, the research showed that the staff
at the Lampang Natural Resources and Environment Office were
efficient and responsible and that the project management approach,
the budget allocated and the equipment used in the operation of
the project were suitable.
3) In terms of the process, the research showed that the
implementation of the project was appropriate. The public were
well informed about the aims and objectives of the project and the
activities were aligned to meet the
objectives of the project.
4) In terms of the product, it was found that the project
has moderately contributed to the reduction of smog, forest fires,
and open-air burning as well as increasing the cooperation of all
stake-holders.
The findings suggest that the project has increased the
awareness and participation of the public through improving public
relations and those involved should disseminate knowledge gained
from the project to other communities. These practices will help
solve problems with air-pollution and prevent their recurrence and
will do so effectively and sustainably.


Keywords : Assessment / haze and forest fires / CIPP Evaluation
Model



Author Biographies

อรรถวุฒิ พงษ์โสภาวิจิตร

นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท
มหาวิทยาลัยราชภัฎลำาปาง

ธนวิทย์ บุตรอุดม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประจำาหลักสูตร MPA คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำาปาง

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-03-27