การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชรูปแบบการสอนแบบเกม โรงเรียนขอนแกนวิเทศศึกษา A Study of Learning Achievement on Art for 4th Grade Students at Khon Kaen Vithes Suksa Bilingual School by a Game-Based Teaching Approach
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชรูปแบบการสอนแบบเกม โรงเรียนขอนแกนวิเทศศึกษา หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่องทัศนธาตุและการออกแบบงานทัศนศิลป ระหวางกลุมที่ เรียนโดยใชรูปแบบการสอนแบบเกมและกลุมที่เรียนโดยใชรูปแบบการสอนแบบ ปกติและความพึงพอใจของผูเรียนตอการจัดการเรียนรูหนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่องทัศนธาตุและการออกแบบงานทัศนศิลป สําหรับผูเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชรูปแบบการสอนแบบเกม กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนขอนแกนวิเทศศึกษา จํานวน 25 คน ไดมาโดยวิธี การสุมแบบงาย ใชระยะเวลาในการทดลอง 4 สัปดาห เครื่องมือที่ใชในการทดลอง ประกอบไปดวย แผนการจัดการเรียน รูปแบบการสอนแบบเกม แบบทดสอบหลัง เรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการเรียนการสอนรูปแบบ การสอนแบบเกม การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ โดยการทดสอบคาเฉลี่ยใช t-test แบบ Independent ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ การเรียนวิชาศิลปะ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ซึ่งมาจากการทําแบบ ทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรูที่ 1 ทัศนธาตุและการออกแบบงานทัศนศิลป ทั้งหมด 4 แบบทดสอบ ปรากฎวาคือ กลุมทดลอง ซึ่งเปนนักเรียนที่เรียนโดยใชรูป แบบการสอนแบบเกม มีผลสัมฤทธิ์สูงกวากลุมควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .01 และการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการเรียนการสอนรูปแบบ การสอนแบบเกม กลุมทดลองจํานวน 25 คน ที่เรียนโดยใชรูปแบบการสอนเกม สรุป ไดดังตอไปนี้ ดานเนื้อหามีคาเฉลี่ยเทากับ 4.8 ผลรวมความพึงพอใจอยูในระดับดีมาก ดานกิจกรรมการเรียนการสอนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.8 ผลรวมความพึงพอใจอยูใน ระดับดีมาก ดานผูเรียนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.7 ผลรวมความพึงพอใจอยูในระดับดีมาก และดานคุณภาพของมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.8 ดังนั้นผลรวมความพึงพอใจอยูใน ระดับดีมาก
The research was aimed at studying learning achievement on art for 4th grade students at Khon Kaen Vithes Suksa Bilingual School by a game-based teaching approach which was used in the learning unit 1 on Visual Elements and Communication Design to study two groups: the student group using the game-based teaching approach and the other learning by traditional teaching methods. The research aimed to study student satisfaction on the learning unit 1 management for 4th grade students by using game-based teaching. The samples used in the study were 50 4th grade students at Khon Kaen Vithes Suksa Bilingual School, who came from simple random sampling. The duration of the study was 4 weeks. Tools used for experiment were a lesson plan, a game-based teaching approach, post-tests, and a student satisfaction survey on the games based teaching approach. Data were analyzed using statistical methods. Tests of sample means relied on the independent samples t test. The study results showed students’ learning achievement on art as follows. After doing 4 post-tests of the learning unit 1, 4th grade students in the experimental group using game-based teaching achieved signifi cantly higher scores than those in the control group at the 0.01 level. According to student satisfaction evaluation on game-based teaching from the experimental group of 25 people, it could be concluded that the mean score on contents was 4.8 in which most people rated satisfaction as “very good”. The mean score on instruction was 4.8 Most people were very satisfi ed. The mean score on students was 4.8 with overall satisfaction rated as “very good”. The mean score on quality was 4.8 Therefore, most students were very satisfi ed.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก่อนเท่านั้น