จิตรกรรมฝาผนังพื้นถิ่น : ศรัทธาและความเชื่อจากรูปแบบศิลปะพระพุทธเจา ทรงเครื่องเรื่องพระพุทธประวัติ1 Local mural painting: Faith and beliefs from styles of crowned Buddha Image in Life of the Buddha

Main Article Content

นงนุช Nongnuch ภูมาลี Phoomalee

Abstract

ภาพจิตรกรรมพื้นถิ่นในแถบอีสานตอนกลางนั้น มีอายุการสรางอยูในชวง ราวกลาง -ปลายพุทธศตวรรษที่ 25 หรือราวรัชสมัยรัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร แนวคิดหรือแรงบันดาลใจในการสรางงานจิตรกรรมฝาผนังที่แสดงลักษณะเฉพาะ ของชางพื้นถิ่นไดนํามาจากวรรณกรรมพื้นถิ่นที่อางอิงการคัดลอกมาจากตนฉบับของ ประเทศลาว เนื้อหาพุทธประวัติบางสวนบางตอนที่เปนรายละเอียดจึงสะทอนรูป แบบศิลปะตางไปจากจิตรกรรมทางภาคกลาง ภาพพระพุทธรูปทรงเครื่องในงานจิตรกรรมฝาผนังพื้นถิ่นหรือ “ฮูป แตม”ในเขตอีสานตอนกลางเรื่องพุทธประวัติ มักปรากฏรูปแบบเขียนไวในตอนหลัง จากที่พระพุทธเจาทรงเสด็จออกผนวชแลว เชน ตอนมารผจญ ตอนเสด็จปรินิพาน ดวยรูปแบบศิลปะการทรงเครื่องที่เนนเฉพาะการสวมมงกฏเปนสําคัญ ประทับนั่ง ทั้งปางสมาธิและปางมารวิชัย สองลักษณะที่ไดอ ธิบายไว ไมวาจะเปนรูปแบบศิลปะ ที่อิงจิตรกรรมไทยประเพณี หรือรูปแบบที่คลี่คลายเปนพื้นถิ่น หากแตรูปแบบทั้ง สองนี้ ชางพื้นถิ่นไดยึดถือเปนแนวปฏิบัติกัน จนพบความนิยมแพรหลายในสิมหลาย แหลง รูปแบบการทรงเครื่องดังกลาวอาจสอดคลองเชื่อมโยงไปถึงหลักฐานกลุมงาน พระพุทธรูปพื้นบาน ระหวางปลายพุทธศตวรรษที่ 24-25 กลุมพระแกวมรกตจําลอง ที่ซึ่งมีคติแนวคิดสําคัญในการจําลองพระแกวมรกตที่เคยเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ คูบานคูเมืองของชาวลาว โดยการจําลองเปนพระพุทธรูปขนาดเล็กอยางแพรหลาย ในภาคอีสาน ดังนั้นเปนไปไดที่ความเชื่อ ความศรัทธาและความระลึกถึงพระแกว มรกตนี้ยังคงตกทอดมาสูผูคนพื้นที่อีสานตอนกลางที่มีความสัมพันธทางดานเชื้อชาติ กับคนลาวในชวงพุทธศตวรรษที่ 25 นี้ดวย แตหากถายทอดความศรัทธานี้ลงสูรูป แบบของงานจิตรกรรมฝาผนัง 

 

 Local mural paintings in middle Isan are dated around mid-late B.D. 25 or during the reign of King Rama V of Rattanakosin period. The concepts and inspirations of mural painting that showed the unique of local artist might come from local literatures that copied from its original in Laos. Some parts of Life of the Buddha story here therefore are different from details of mural painting in Central Thailand. The crowned Buddha in local mural painting or “Hoop Tam” in middle Isan always appearedin scenes after the ordination of the Buddha, for example, a scene of Buddha Subduing Mara or a scene of the Death of the Buddha. Thesecrowned Buddha Images wears only head dress or crown without any other royal attires and can be found in subduing mara position and meditating position and also foundin both Thai tradition and local mural painting. These two styles are popular among local artists as they are found in many Sim. The style of crowned Buddha image may relate to group of Buddha Image late B.D. 24-25. The concept of this group was to replicate the Emerald Buddha which at that time was an important Buddha Image of Laos. These Buddha Images have been replicated in small size and were popular in Isan. It is possible that those belief, faith and remembrance have been passed on to people in middle Isan who have race relation with Laos people during B.D 25 but showed their beliefs through mural painting instead. 

Article Details

How to Cite
ภูมาลี Phoomalee น. N. (2016). จิตรกรรมฝาผนังพื้นถิ่น : ศรัทธาและความเชื่อจากรูปแบบศิลปะพระพุทธเจา ทรงเครื่องเรื่องพระพุทธประวัติ1 Local mural painting: Faith and beliefs from styles of crowned Buddha Image in Life of the Buddha. Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 8(1), 401–423. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/65553
Section
Research Articles