การศึกษา ‘วัฒนธรรมเชิงความสัมพันธ์ห้าประการ’ ซอฟต์พาวเวอร์ทางวัฒนธรรมของจีนกับบทบาทชาวจีนโพ้นทะเล
คำสำคัญ:
ซอฟต์พาวเวอร์, ซอฟต์พาวเวอร์ทางวัฒนธรรม, วัฒนธรรมเชิงความสัมพันธ์ห้าประการ, ชาวจีนโพ้นทะเลบทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งเน้นการศึกษาเกี่ยวกับ “ซอฟต์พาวเวอร์” ทางวัฒนธรรมของจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน ‘วัฒนธรรมเชิงความสัมพันธ์ห้าประการ’ หรือในภาษาจีนว่าด้วย “วัฒนธรรมอู่หยวน(五缘文化)” ซึ่งอธิบายถึงลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ถือเป็นเครือข่ายทางสังคมในวัฒนธรรมจีน ประกอบด้วย วัฒนธรรมความสัมพันธ์ทางสายเลือด(亲缘文化), วัฒนธรรมความสัมพันธ์ทางพื้นที่(地缘文化), วัฒนธรรมความสัมพันธ์ทางศาสนา(神缘文化), วัฒนธรรมความสัมพันธ์ทางอาชีพ(业缘文化) และวัฒนธรรมความสัมพันธ์ทางวัตถุ(物缘文化) รูปแบบวัฒนธรรมเหล่านี้เป็นหัวใจของเครือข่ายทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวจีนที่จะช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างชาวจีนโพ้นทะเลกับวัฒนธรรมเชิงความสัมพันธ์ทั้งห้าประการได้อย่างลึกซึ้ง การศึกษานี้ทำให้เราเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างชาวจีนโพ้นทะเลกับวัฒนธรรมเชิงความสัมพันธ์ห้าประการที่ถือเป็นซอฟต์พาวเวอร์ทางวัฒนธรรมของจีนอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นการปฏิบัติและการสะท้อนถึงวัฒนธรรมจีนที่โดดเด่นผ่านการดำเนินชีวิตของชาวจีนโพ้นทะเลในต่างแดน
Downloads
References
จุฑามณีนุช สืบสายไทย. (2545). สมาคม : ลักษณะการรวมกลุ่มของชาวจีนในประเทศไทย : กรณีศึกษาสมาคมตระกูลเฮ้งแห่งประเทศไทย [สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิต ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วรางคณา กล้าจริง และ พงศ์นเรศ แจ้งพรมมา. (2565). แพทย์แผนจีนกับทางเลือกสุขภาพในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 20(2), 370-383.
วัฒนา กีรติชาญเดชา. (2565). การค้ายาจีนแผนโบราณในประเทศไทย พ.ศ. 2493-2518 [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมบัติ จันทรวงศ์. (2557). มานุษยวิทยา. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรชัย ศิริไกร. (2544). ศาสนาและลัทธิความเชื่อของชาวจีน: การรวมศาสนาพุทธ เต๋า และขงจื๊อ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Brand Finance. (2024, January 17). Brand Finance Global 500 2024. https://brandfinance.com/insights/global-500-2024-report
Nye, J. S. (1990). Soft Power. Foreign Policy, 80, 153–171. https://doi.org/10.2307/1148580
Nye, J. S. (2004). Soft power: The means to success in world politics. Public Affairs, 1-20.
Suryadinata, L. (2017). The Rise of China and the Chinese Overseas: A Study of Beijing’s Changing Policy in Southeast Asia and Beyond. ISEAS-Yusof Ishak Institute.
Thuno, M. (2001). Beyond Chinatown: The Socioeconomic and Political Incorporation of the Chinese Diaspora in Indonesia and Malaysia. Copenhagen Journal of Asian Studies, 15, 70-95.
Wang, Y., & Lu, Z. (2008). The role of overseas Chinese in China’s relations with Southeast Asia. The Pacific Review, 21(4), 395-412.
中国共产党中央委员会. (2007).中国共产党第十七次全国代表大会文件.人民出版社.
中国共产党中央委员会. (2013). 中共中央关于全面深化改革若干重大问题的决定.人民出版社.
林其锬. (1989). 五缘文化与华人社会.福建人民出版社.
陈晓丹. (2022). 地缘文化与海外华侨华人文化认同. 现代传播, (第5期)
武心波. (2013). “五缘网”与“互联网”联姻. 东南学术, (第5期)
汪金国,汪毅刚. (2009). 新世纪中国文化软实力体系的要素评析. 当代世界与社会主义, (第6期第20-23页)
朴桂荣. (2008). 对高国家文化软实力”问题的理性思考. 黑龙江教育学院学报, (第 5 期)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Thai Journal of East Asian Studies

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.