การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจของการทำให้สิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวได้รับประโยชน์มากสุด และเกิดผลกระทบน้อยที่สุด ตามเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก ตลาดน้ำจังหวัดเพชรบุรี

ผู้แต่ง

  • มณีนุช ทิมทอง คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ, การทำให้สิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวได้รับประโยชน์มากสุดและเกิดผลกระทบน้อยที่สุดตามเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก, ตลาดน้ำจังหวัดเพชรบรุี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจของการทำให้สิ่งแวดล้อมของแหล่ง ท่องเที่ยวได้รับประโยชน์มากสุด และเกิดผลกระทบแง่ลบน้อยที่สุดตามเกณฑการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนโลก เก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างกับผู้ประกอบการตลาดน้ำจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 302 คน ทำการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory factor analysis) โดยใช้วิธีการสกัดองค์ประกอบหลัก และหมุนแกนองค์ประกอบตั้งฉากด้วยวิธี แวริแมกซ์ (Varimax) ผลการวิจัยพบว่า ชุดตัวแปรสังเกตได้สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบได้ 12 องค์ประกอบ ได้แก่ ความเสี่ยงในเรื่องสิ่งแวดล้อมค่าไอเกนเท่ากับ 1.47 และ 1.09 ปกป้องสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในสภาวะล่อแหลม ค่าไอเกนเท่ากับ 2.09 และ 1.12 ปกป้องพืชพันธุ์และสัตว์ป่าค่าไอเกนเท่ากับ 1.59 และ 1.13 ปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจกค่าไอเกนเท่ากับ 1.37 และ 1.04 อนุรักษ์พลังงานค่าไอเกนเท่ากับ 1.22 และ 1.05 การจัดการน้ำ ค่าไอเกนเท่ากับ 1.40 และ 1.00 การป้องกันการขาดแคลนน้ำ ค่าไอเกนเท่ากับ 1.17 และ 1.00 คุณภาพของน้ำ ค่าไอเกนเท่ากับ 1.37 การจัดการน้ำเสียค่าไอเกนเท่ากับ 1.71 และ 1.08 การลดขยะมูลฝอยค่าไอเกนเท่ากับ 1.59, 1.31, 1.05 และ 1.04 การลดสภาวะเสียงและแสงค่าไอเกนเท่ากับ 1.68 และ 1.10 และการลดผลกระทบ จากการคมนาคมค่าไอเกนเท่ากับ 1.41 เป็นที่น่าสังเกตว่า ตัวแปรสังเกตได้ที่มีค่าไอเกนมากกว่า 1 จะกลายเป็น ตัวแปรสังเกตได้ที่สามารถแยกความสัมพันธ์และถูกจัดเข้าองค์ประกอบใหม่

Downloads

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). สถิติข้อมูลการท่องเที่ยว. https://mots.go.th/more_news_new. php?cid=497 กองส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว. (2552). Sustainable Tourism การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. http://reo4.go.th/ upload_M/REO4_M-94.pdf กัลยกร แสวงผล. (2559). การพัฒนาการท่องเที่ยวตลาดน�้าไทรน้อยโดยชุมชนมีส่วนร่วม. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. กรกนก เกดิสงัข.์ (2560). การพฒันาการทอ่งเทยี่วอยา่งยงั่ยนืเชงิกลยทุธ ์: กรณศีกึษาต�าบลบางใบไม ้อ�าเภอเมอืง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะกรรมการตลาดน�้าตกกวางโจว. (2561, พฤษภาคม 7). บันทึกข้อมูลทั่วไปภายในและรายงานการประชุม. ตลาดน�้าตกกวางโจว จังหวัดเพชรบุรี. จันทร์จิรา สุขบรรจง. (2559). การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของหนานมดแดง อ�าเภอป่าพะยอม จังหวัด พัทลุง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2553). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS (7th ed.). กรงุเทพมหานคร: บสิซเินส อาร์แอนด์ดี. นาตยา บุตรอยู่. (2557). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อ�าเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปกร. ปิยวรรณ คงประเสริฐ. (2551). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศแบบบูรณาการเพื่อการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนที่เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวโรฒ. รัศมี อ่อนปรีดา. (2558). การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของจังหวัดราชบุรี และสมุทรสงคราม. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์. ศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์. (2550). การสร้างมาตรฐานตลาดน�้าเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาตลาดน�้า ตลิ่งชัน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโรฒ. สาธิญา รุ่งพิพัฒนพงศ์. (2557). องค์ประกอบของความยั่งยืนส�าหรับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษา ชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถุี เสรฐิศร.ี (2557). แนวทางการจดัการทอ่งเทยี่วอยา่งยงั่ยนืในชมุชนคลองโคน อ�าเภอเมอืง จงัหวดัสมทุรสงคราม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2559). การด�าเนินงานวิจัยเพื่อพัฒนา องค์ความรู้ทางวิชาการด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. https://tis.dasta.or.th/dastaknowledge/wpcontent/uploads/2018/10/gstc-criteria.pdf Hair, J. F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.).
Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Global Sustainable Tourism Council. (2017, October 20). What is the GSTC?. http://www.gstcouncil. org/about/about-us/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-27

How to Cite

ทิมทอง ม. (2020). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจของการทำให้สิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวได้รับประโยชน์มากสุด และเกิดผลกระทบน้อยที่สุด ตามเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก ตลาดน้ำจังหวัดเพชรบุรี. Thai Journal of East Asian Studies, 24(1), 53–74. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/easttu/article/view/243112

ฉบับ

บท

บทความวิจัย