การเปรียบเทียบตัวละครหลักและความเชื่อที่สะท้อนผ่านตำนาน เรื่อง “แม่นากพระโขนง” และ “นางพญางูขาว” (白蛇传)

Main Article Content

Pancheewa Phukwanpong

บทคัดย่อ

          ตำนานไทยเรื่อง “แม่นากพระโขนง” และตำนานจีนเรื่อง “นางพญางูขาว” มีความคล้ายคลึงกันหลายด้าน ทั้งโครงเรื่อง ตัวละครหลัก และความเชื่อทางสังคมที่สะท้อนผ่านตำนานทั้งสองเรื่องนี้บทความนี้ได้ทำการเปรียบเทียบ โดยแบ่งเนื้อหาเป็นสองส่วน คือ (1) เปรียบเทียบตัวละครหลัก ได้แก่ “แม่นาก” กับ “ไป๋ ซู่ เจิน” (白素贞)“พ่อมาก” กับ “สวี่ เซียน”(许仙)และ “สมเด็จพระพุฒาจารย ์ (โต)” กับ “พระเถระฝาไห่” (法海和尚)(2) เปรียบเทียบความเชื่อต่างๆ ทางสังคม โดยเฉพาะความเชื่อในเรื่องภูติ ผี วิญญาณ และสวรรค์ ที่สะท้อนออกมาอย่างชัดเจนในตำนานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางความคิดและความเชื่อของคนในสังคมยุคนั้นที่แฝงอยู่ในตำนานและนำเสนอเพื่อเป็นข้อมูลแก่นักวิชาการไทยได้ศึกษาเพิ่มเติม

Article Details

How to Cite
Phukwanpong, P. (2015). การเปรียบเทียบตัวละครหลักและความเชื่อที่สะท้อนผ่านตำนาน เรื่อง “แม่นากพระโขนง” และ “นางพญางูขาว” (白蛇传). วารสารกระแสวัฒนธรรม, 16(30), 55–67. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/cultural_approach/article/view/58454
บท
Academic Article

References

[1] กลุ่มวัชราภรณ์. (2536). ประวัติและบารมีสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต)พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม(ธนบุรี). กรุงเทพ: วัชรินทร์การพิมพ์.

[2] ส.พลายน้อย. (2552). ตำนานผีไทย.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์พิมพ์คำ.

[3] สมภาร พรมทา. (2546). มนุษย์กับศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ: สำานักพิมพ์ศยาม.

[4] เสถียรโกเศศ-นาคะประทีป. (2515). เมืองสวรรค์และผีสางเทวดา. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันท.

[5] เอนกนาวิกมูล. (2543). เปิดตำานานแม่นากพระโขนง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โนรา

[6] 李耘. (2002).白蛇传故事嬗变研究. 首都师范大学

[7] 王蕾. (2014).白蛇传说”在影视作品中的改编. 湖南师范大学大学