ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาจีนของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อแรงจูงใจกับแรงจูงใจใน
การเรียนวิชาภาษาจีน โดยใช้ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจของสพอลดิง (Spaulding, 1992) การวิจัยครั้งนี้
ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายโดยสุ่มตัวอย่างจำนวน 120 คน จากนักศึกษาจากคณะต่าง ๆ ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา
ภาษาจีนที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2556 ภาคเรียนที่ 1 โดยจำแนกปัจจัยที่ศึกษา
เป็น 2 ด้าน คือ (1) ปัจจัยภายนอก ได้แก่ สถานศึกษาสังคม และครอบครัว (2) ปัจจัยภายในได้แก่การ
พัฒนาตนเองความต้องการเดินทางสู่ประเทศจีนเพื่อท่องเที่ยว ศึกษาต่อ หรือทำงาน และความสนใจใน
ภาษาและวัฒนธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถามโดยเก็บข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผล
ต่อแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ
การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยค่า t-test ค่า F-test และค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของ
เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่าในกลุ่มปัจจัยภายนอก3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนวิชาภาษาจีนนั้น ปัจจัยด้าน
สถานศึกษาส่งผลต่อแรงจูงใจมากที่สุด (X= 4.17)รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคม (X= 4.02) และปัจจัยด้าน
ครอบครัว (X = 3.29) ตามลำดับ โดยในส่วนปัจจัยภายใน3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนวิชาภาษาจีนนั้น
พบว่าการวางแผนชีวิตส่งผลต่อแรงจูงใจมากที่สุด (X= 4.07)รองลงมาคือความสนใจในประเทศจีน (X=
3.46) และการเดินทางไปประเทศจีน (X= 3.00) ตามลำดับ
ผลงานวิจัยนี้ทำให้ทราบแนวทางในการส่งเสริมแรงจูงใจในการเรียนภาษาจีนของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยสยาม พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถทางการใช้ภาษาจีนและยังสามารถนำ
ผลที่ได้ไปใช้ในการวางแผนนโยบายเพื่อปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาจีนสำหรับ
ฝ่ายบริหารสถานศึกษาอีกด้วย
คำสำคัญ : ปัจจัยที่มีอิทธิพลแรงจูงใจ ภาษาจีนมหาวิทยาลัยสยาม
Article Details
Proposed Creative Commons Copyright Notices
1. Proposed Policy for Journals That Offer Open Access
Authors who publish with this journal agree to the following terms:
- Authors retain copyright and grant the journal right of first publication with the work simultaneously licensed under a Creative Commons Attribution License that allows others to share the work with an acknowledgement of the work's authorship and initial publication in this journal.
- Authors are able to enter into separate, additional contractual arrangements for the non-exclusive distribution of the journal's published version of the work (e.g., post it to an institutional repository or publish it in a book), with an acknowledgement of its initial publication in this journal.
- Authors are permitted and encouraged to post their work online (e.g., in institutional repositories or on their website) prior to and during the submission process, as it can lead to productive exchanges, as well as earlier and greater citation of published work (See The Effect of Open Access).
Proposed Policy for Journals That Offer Delayed Open Access
Authors who publish with this journal agree to the following terms:
- Authors retain copyright and grant the journal right of first publication, with the work [SPECIFY PERIOD OF TIME] after publication simultaneously licensed under a Creative Commons Attribution License that allows others to share the work with an acknowledgement of the work's authorship and initial publication in this journal.
- Authors are able to enter into separate, additional contractual arrangements for the non-exclusive distribution of the journal's published version of the work (e.g., post it to an institutional repository or publish it in a book), with an acknowledgement of its initial publication in this journal.
- Authors are permitted and encouraged to post their work online (e.g., in institutional repositories or on their website) prior to and during the submission process, as it can lead to productive exchanges, as well as earlier and greater citation of published work (See The Effect of Open Access).