กระบวนการทางการทูต และความหลากหลายทางวัฒนธรรม

Main Article Content

ชุติมา สุดจรรยา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอกระบวนการทางการทูตและความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพื่อนำเสนอประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการทางการทูตในแต่ละรูปแบบแต่ละช่วงเวลา ด้วยการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการทูตจากประวัติศาสตร์ เพื่อที่จะเข้าใจพัฒนาการทางการทูตในปัจจุบัน โดยการพิจารณาว่า การทูตเป็นศิลปะของการดำเนินความสัมพันธ์ที่หลากหลายระหว่างผู้ที่มีบทบาททางการเมืองระดับโลก อธิบายถึงนักการทูตในอุดมคติ และอาชีพของนักการทูตที่ไม่เหมือนใคร ซึ่งต้องใช้ความละเอียดอ่อน และความเชี่ยวชาญอย่างมีไหวพริบให้สอดคล้องกับประเด็นที่หลากหลายของการเมืองระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งอธิบายถึงภาระหน้าที่ของทูตที่ก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวทั้งในเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ การนำมาซึ่งความสงบสุข และความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นอกจากนี้ยังนำเสนอประเด็นที่เชิญชวนให้ร่วมช่วยกันคิดว่ารูปแบบการดำเนินการทางการทูตที่เหมาะสมกับโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เป็นยุคดิจิทัลอันเป็นโลกที่ไร้พรมแดนนี้ ควรเป็นอย่างไร

Article Details

How to Cite
สุดจรรยา ช. (2023). กระบวนการทางการทูต และความหลากหลายทางวัฒนธรรม. วิพิธพัฒนศิลป์, 3(2), 47–65. https://doi.org/10.14456/wipit.2023.7
บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงการต่างประเทศ กรมพิธีการทูต. (2550). คู่มือการปฏิบัติงานกรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ 2550 / กรมพิธีการทูต กระทรวงการต่างประเทศ (แก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 2). กรมพิธีการทูต.

กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย. (2525). อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต พ.ศ. 2504. ม.ป.พ. https://sb2.police.go.th/ambassador2.pdf

โชคชัย จุลศิริวงศ์. (2536). 5 ทศวรรษการต่างประเทศของไทยจากความขัดแย้งสู่ความร่วมมือ.สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวนีย์ เอื้อพันธ์ศิริกุล และ สืบสกุล นรินทรางกูร ณ อยุธยา. (2563). แนวทางการพัฒนานักการทูตไทยสู่มาตรฐานสากล. วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 50(2), 1 - 24.

https://so08.tci-thaijo.org/index.php/ssjpolsci/article/view/706/520

สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2530). ร่างแนวทางการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทยกับต่างประเทศพุทธศักราช 2530. ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทยกับต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (อัดสำเนา)

อรุณ ภานุพงศ์. (2529). การทูตและการระหว่างประเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Adler, N.S. (1997). International Dimensions of Organizational Behavior. (3rd ed.). South – Western

College Publishing.

Aksoy, M. & Çiçek, A. (2018). Redefining Diplomacy in the 21st Century and Examining

the Characteristics of an Ideal Diplomat. MANAS Journal of Social Studies, 7(3), 907 - 921.

https://dergipark.org.tr/en/download/article-file/638817

Barston, R.P. (1997). Modern Diplomacy (5th ed.). Routledge.

Bealey, F., Chapman, R. A. & Sheehan, M. (1999). Elements in Political Science. Edinburgh University Press.

Bound, K., Briggs, R., Holden, J., & Jones, S. (2007). Cultural Diplomacy, Culture is a central component of international relations, It’s time to unlock its full potential. Demo.

Cambon, J. (1926). Le diplomate. Hachette.

Cobuild, C. (2006). Advanced Learner’s English Dictionary. Foreign Language Teaching and Research Press.

Hall, E.T. (1976). Beyond Culture. Doubleday Dell Publishing.

Hooker, J. (2008). Cultural Differences in Business Communication. https://pdf4pro.com/view/cultural-differences-in-business-communication-b5855.html

Gesteland, R. (2002). Cross-cultural business behavior. Copenhagen Business School Press DK.

Papaioannou, K. (2017). Cultural Diplomacy in International Relations, IJASOS-International E-Journal of Advances in Social Sciences, 3(9), 942 - 944. http://ijasos.ocerintjournals.org/en/pub/ijasos/article/367306

Stelowska, D. (2015). Culture in International Relations Defining Cultural Diplomacy. Polish Journal of Political Science, 1(3), 50 - 72. http://cejsh.icm.edu.pl/cejsh/element/bwmeta1.element.desklight-b208e8f2-2d47-4450-af75-4d1cf6e30d85

Subboonrueng, H. & Bunyavejchewin, P. (2019). Thailand 4.0 in World Politics: The 5S Foreign Affairs Strategy. International Journal of East Asian Studies, 23(2), 312 - 327. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/easttu/article/view/241354/164304

Billows, W. (2016). Culture Report: Eunic Yearbook 2016, Vol. 8: A Global Game - Sport, Culture, Development and Foreign Policy. Steidl.