การฝึกหัดโขนพระเบื้องต้น

Main Article Content

ธนกร สุวรรณอำภา
ฤดีชนก คชเสนี
จินตนา อนุวัฒน์
นฤมล ณ นคร
พิมพิกา มหามาตย์
พิชญา บวรอิทธิกร

บทคัดย่อ

          การเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย โดยเฉพาะโขน จะต้องมีการฝึกฝนทักษะพื้นฐานเบื้องต้น เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะและสรีระที่ดีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการแสดงได้ ดังนั้นความมุ่งหมายของการฝึกหัดเบื้องต้นในการเรียนนาฏศิลป์โขนพระ  จำเป็นต้องเริ่มจากความรู้ที่เป็นขั้นพื้นฐานและสามารถผ่านการฝึกหัดเบื้องต้น เพื่อปรับสภาพร่างกายผู้เรียนให้มีความพร้อมในการรับการถ่ายทอด การฝึกหัดเบื้องต้นที่สำคัญต่อการเรียนนาฏศิลป์โขนพระ จึงประกอบไปด้วย การตบเข่า การถองสะเอว การเต้นเสา การถีบเหลี่ยม การดัดมือดัดแขน การกระดกเท้า

Article Details

How to Cite
สุวรรณอำภา ธ., คชเสนี ฤ. ., อนุวัฒน์ จ., ณ นคร น. ., มหามาตย์ พ. ., & บวรอิทธิกร พ. (2021). การฝึกหัดโขนพระเบื้องต้น. วิพิธพัฒนศิลป์, 1(3), 64–79. https://doi.org/10.14456/wipit.2021.17
บท
บทความวิชาการ

References

ธนกร สุวรรณอำภา. (2562). ทักษะนาฏศิลป์ไทย (โขนพระ) : พระลักษมณ์. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จำกัด.

ไพฑูรย์ เข้มแข็ง. (2543). คู่มือประกอบการสอน ปฏิบัติเอก นาฏศิลป์ไทย (โขนพระ) ภาควิชานาฏศิลป์ไทย. วิทยาลัยนาฏศิลป.

วีระชัย มีบ่อทรัพย์. (2545). คู่มือประกอบการสอน นท 001 นาฏศิลป์ไทย และ 012 นาฏศิลป์ไทย.ภาควิชานาฏศิลป์ไทย. วิทยาลัยนาฏศิลป.

อาคม สายาคม. (2525). “ฝึกหัดละครหลวงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว” รวมงานนิพนธ์ ของนายอาคม สายาคม. กรมศิลปากร.