การมีส่วนร่วมในพุทธรัฐศาสตร์ในการอนุรักษ์สืบสานมรดกโลก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

สุรศักดิ์ ศรีธรรมกุล

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นบทความวิชาการ ผู้เขียนสังเคราะห์เชิงเอกสารการมีส่วนร่วมในพุทธรัฐศาสตร์ในการอนุรักษ์สืบสานมรดกโลกจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการสังเคราะห์การมีส่วนร่วมในพุทธรัฐศาสตร์ มีดังนี้ 1) การมีส่วนร่วมด้านการบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา ภาครัฐและทุกภาคส่วนมีส่วนโดยนำวัฒนธรรมพื้นบ้านไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ สร้างเป็นสัญลักษณ์ของท้องถิ่นหรือการส่งเสริมการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นและมรดกทางวัฒนธรรม 2) การมีส่วนร่วมด้านวิถีทางที่นำมาสู่รัฐศาสตร์แนวพุทธ คือ การปกครองตามแนวพุทธในการอนุรักษ์สืบสานมรดกโลก เน้นไปที่นักปกครองหรือผู้นำที่เป็นแบบอย่างที่ดี ใช้อำนาจตามแนวพุทธศาสตร์โดยวิธีการบำเพ็ญประโยชน์ทางพุทธรัฐศาสตร์ จูงใจให้ชุมชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สืบสานมรดกโลกด้วยหลักพุทธรัฐศาสตร์ด้วยวิถีทางที่นำมาสู่รัฐศาสตร์แนวพุทธ 3) การมีส่วนร่วมด้านภาวะผู้นำทางการเมืองท้องถิ่น ผู้นำท้องถิ่นจะต้องมีภาวะความเป็นผู้นำสูง เป็นคนที่ความสามารถในการมีอำนาจและอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการอนุรักษ์สืบสานมรดกโลก 4) การมีส่วนร่วมด้านหลักพุทธธรรมประชาชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีโอกาสในสิทธิ หน้าที่ของพลเมืองและมีเจตคติที่ดีในการอนุรักษ์และสืบสานมรดกโลกอย่างยั่งยืน 5) การมีส่วนร่วมด้านการเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ  การบริการสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์สืบสานมรดกโลกที่มีความสำคัญต่อการบริหารท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ คนในท้องถิ่นได้รับการพิจารณาให้เป็นกลุ่มผู้มีส่วนร่วมหลักในการอนุรักษ์สืบสานมรดกโลกให้คงอยู่ในพื้นที่

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เกรียงเพ็ชร ทองบริสุทธิ์. (2561). การบริหารจัดการพื้นที่มรดกโลกในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาของเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงวารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา. วารสารสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(19), 20-32.

จุรี สายจันเจียม. (2558). พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานทางรัฐศาสตร์. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 4(1), 393-401.

ณปภัช พัชรกรโชติ. (2564). พุทธภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่นเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

ดาริกา โพธิรุกข. (2563). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม : ศึกษากรณีชุมชนบ้านเขวา ตำบลเขวา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(3), 42-51.

บริษัท โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเม้น. (2565). มรดกโลกแห่งแรกของไทย "พระนครศรีอยุธยา" (อดีตราชธานีเก่า). สืบค้น 15 มกราคม 2566, จาก https://palanla.com/index.php?op=video-detail&id=67

ปราณี ตันประยูร. (2561). การจัดการการท่องเที่ยวอยุธยาเมืองมรดกโลก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(3), 182-183.

พระครูปลัดสุวัฒนพุทธิคุณ. (2565). ภาวะผู้นำทางการเมืองเชิงพุทธเพื่อการบริหารกิจการบ้านเมือง. วารสารวิจยวิชาการ, 5(2), 263-274.

พระครูวินัยธร อธิษฐ์สุวฑฺโฒ. (2564). รัฐศาสตร์แนวพุทธ : วิเคราะห์ภาวะผู้นำทางการเมืองที่พึงประสงค์. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 4(2), 70-77.

พระมหาเดชาธร สุภชโย. (2564). “การมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์เมืองมรดกโลกหลวงพระบางสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว”. วารสารวิจยวิชาการ, 4(2), 41-48.

พระสนิท สุจิตฺโต. (2560). การอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุของวัดขนอนอำเภอโพธาราม. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2) (ฉบับพิเศษ เล่มที่ 2), 531-542.

พระสมุห์ชิษณุพงศ์ ปญฺญาวุฑฺโฒ. (2563). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการพื้นที่มรดกโลกอุทยานประวัติศาสตร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, 5(2), 1-8.

พระสิทธิ สิงหเสนี. (2562). มรดกโลกจังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ปัญหา อุปสรรคและกระบวนการจัดการของภาคีเครือข่ายในพื้นที่. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(3), 1267-1280.

พระสุธีรัตนบัณฑิต. (2564). การจัดการมรดกวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา. สืบค้น 15 มกราคม 2566, จาก https://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:E-xBI3M9RMYJ

ไพรัช พื้นชมพู. (2565). หลักรัฐศาสตร์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก: การมีส่วนร่วมทางการเมือง. วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์, 7(1), 11-23.

สงบ เชื้อทอง. (2555). รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์. สืบค้น 4 กุมภาพันธ์ 2563, จาก http://psiba.blogspot.com/

สุขุม นวลสกุล และคณะ. (2555). รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์. สืบค้น 15 มกราคม 2566, จาก http://psiba.blogspot.com/political-science-in-buddhist-approach.html.

หอการค้าไทย. (2564). การมีส่วนร่วมด้านหลักพุทธธรรมประชาชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: หอการค้าไทย.

อภินันท์ จันตะนี. (2561). พุทธรัฐศาสตร์สำหรับการส่งเสริมความมั่นคงแห่งพลเมือง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 10(2), 287- 296.

Albert, M.T. (2012). Perspectives of world heritage: towards future-oriented strategies with the five ‘Cs’. In Albert, M. T., et al. (Eds.). Paris: UNESCO.

Brown, J. & Hay-Edie, T. (2013). COMPACT: engaging local communities in stewardship of World Heritage. New York: United Nations Development Programme.

Katriina, S. & Inger, S. (2014). Exploring the scientific discourse on cultural sustainability. Geoforum, 51(2), 213.

Phillips, A. (2002). Management guidelines for IUCN category V protected areas: protected landscapes/seascapes. Cambridge: IUCN.

Puang-ngam, K. (2000). Karn pokkhrong thongthin Thai. Bangkok: Winyuchon.

Tansukanun, P. (2019). Phuentee nai chiwit pracham wan khong chumchon lawaek ban nai khet kamphaeng mueang Chiangmai. Journal of Environmental Design, 6(2), 85.

Taruvinga, P. (2007). Community participation and rock art management in Zimbabwe. Massachusette: Addison Wesley.

Thomas, L. & Middleton, J. (2003). Guidelines for management planning of protected areas. Retrieved January 26, 2023, from https://portals.iucn.org/library/efiles/documents/PAG-010.pdf

UNESCO. (2007). World heritage: challenges for the millennium. Paris: World Heritage Centre.

UNESCO. (2013). Managing cultural world heritage. Paris: World Heritage Centre.