การพัฒนารูปแบบเพื่อเพิ่มทักษะด้านการใช้งานปัญญาประดิษฐ์ในการเพิ่มมูลค่าให้กับงาน และความสามารถในการทำงานของแรงงานจังหวัดกาญจนบุรี

Main Article Content

สุทัศน์ กำมณี
ณรงค์เดช รัตนานนท์เสถียร
ขวัญนรี กล้าปราบโจร

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบเพื่อเพิ่มทักษะด้านการใช้งานปัญญาประดิษฐ์ในการเพิ่มมูลค่าให้กับงานและความสามารถในการทำงานของแรงงานจังหวัดกาญจนบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทของการเรียนรู้ปัญญาประดิษฐ์ในการทำงานจังหวัดกาญจนบุรีและเพื่อพัฒนาแนวทางการเพิ่มทักษะปัญญาประดิษฐ์สำหรับแรงงานในจังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิจัยพบว่าจังหวัดกาญจนบุรีมีการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการทำงานเป็นจำนวนไม่มากส่วนใหญ่น้อยกว่าร้อยละ 20 พื้นฐานแรงงานมีทักษะดิจิทัลอยู่ในเกณฑ์มากเฉลี่ยทุกด้าน 3.73 รูปแบบการใช้ปัญญาประดิษฐ์ที่ใช้ในการทำงานมากที่สุดได้แก่ การวิจัยจะใช้เครื่องมือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ประชากรคือนักศึกษา ผู้ประกอบการ แรงงานในตลาดแรงงานในจังหวัดกาญจนบุรี สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สถิติพรรณนาเพื่อแสดงการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ ปัญญาประดิษฐ์ที่มีการใช้งานมากที่สุดคือ ประเภท Cognitive Science ร้อยละ 30.49 และ Hybrid AI System รองลงมา ร้อยละ 23.17 บริบทสะท้อนถึงสภาพแรงงานในจังหวัดกาญจนบุรีมีความเข้าใจในบทบาทของปัญหาประดิษฐ์แต่การนำมาปรับใช้ยังมีส่วนน้อยหรือเป็นบางส่วนงาน รูปแบบการอบรมมีความต้องการอบรมในรูปแบบออนไลน์สำหรับการเพิ่มทักษะปัญญาประดิษฐ์ให้กับแรงงานในจังหวัดกาญจนบุรี

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เฉลิมพร ศรีทอง และ เสรี วงษ์มณฑา. (2561). การศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรีในฐานะเขตเศรษฐกิจพิเศษ. วารสารรัชต์ภาคย์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 11(24), 115-134.

บุหงา ชัยสุวรรณ และคณะ. (2565). สถานการณ์ แนวโน้ม และความต้องการความรู้และทักษะปัญญาประดิษฐ์ทางการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรวัยทำงานในประเทศไทย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(1), 110-134.

สาวิตรี ท้วมลี้ และ ดวงพร พุทธวงศ์. (2565). ประสิทธิภาพของกระบวนการฝึกอบรมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานภายใต้สถานการณ์ปกติใหม่ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(3), 1156-1070.

Bishop, C. M. (1994). Neural networks and their applications. Review of Scientific Instruments, 65(6), 1803-1832. https://doi.org/10.1063/1.1144830

Buchanan, B. G., & Smith, R. G. (1988). Fundamentals of Expert Systems. Annual Review of Computer Science, 3(1), 23-58. https://doi.org/10.1146/annurev.cs.03.060188.000323

Carleo, G., Cirac, I., Cranmer, K., Daudet, L., Schuld, M., Tishby, N., Vogt-Maranto, L., & Zdeborová, L. (2019). Machine learning and the physical sciences. Reviews of Modern Physics, 91(4). https://doi.org/10.1103/RevModPhys.91.045002

Chaib-draa, B. (1995). Industrial applications of distributed AI. Communications of the ACM, 38(11), 49-53. https://doi.org/10.1145/219717.219761

Forbus, K. D. (2010). AI and Cognitive Science: The Past and Next 30 Years. Topics in Cognitive Science, 2(3), 345-356. https://doi.org/10.1111/j.1756-8765.2010.01083.x

García, J. C., Patrão, B., Almeida, L., Pérez, J., Menezes, P., Dias, J., & Sanz, P. J. (2015). A natural interface for remote operation of underwater robots. IEEE Computer Graphics and Applications, 37(1), 34-43.

Hagemann, S., Sünnetcioglu, A., & Stark, R. (2019). Hybrid artificial intelligence system for the design of highly-automated production systems. Procedia Manufacturing, 28, 160-166.

Long, D., & Magerko, B. (2020). What is AI Literacy? Competencies and Design Considerations. Proceedings of the 2020 CHI Conference on Human Factors in Computing Systems, 1-16. NY, USA: Association for Computing Machinery. https://doi.org/10.1145/3313831.3376727

Peres, R. S., Jia, X., Lee, J., Sun, K., Colombo, A. W., & Barata, J. (2020). Industrial Artificial Intelligence in Industry 4.0 - Systematic Review, Challenges and Outlook. IEEE Access, 8, 220121-220139. https://doi.org/10.1109/ACCESS.2020.3042874

Ribeiro, J., Lima, R., Eckhardt, T., & Paiva, S. (2021). Robotic Process Automation and Artificial Intelligence in Industry 4.0 - A Literature review. Procedia Computer Science, 181, 51-58. https://doi.org/10.1016/j.procs.2021.01.104