การพัฒนาคุณภาพงานบริการทางการท่องเที่ยวสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ

Main Article Content

ปริญญา นาคปฐม
ระชานนท์ ทวีผล

Abstract

บทความนี้เป็นการศึกษาและวิเคราะห์คุณภาพการบริการสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการสร้างคุณภาพงานบริการทางการท่องเที่ยวสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ การศึกษาองค์ประกอบในการให้บริการทางการท่องเที่ยว การกำหนดคุณภาพบริการ รวมถึงการศึกษาความต้องการพิเศษเพื่อความสำเร็จในการจัดการท่องเที่ยว เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้มาบูรณาการและดำเนินการปรับใช้ให้เกิดความเหมาะสมกับกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่กำลังจะเพิ่มจำนวนมากขึ้นในอนาคต


The article was studied and analyzed the service quality for senior tourists. The objectives were to explain the construction of service quality for senior tourists, the components of service quality, specification of service quality and the special requirements for tourism’s success. As a consequence, knowledge of appropriation was integrated and adapted for increment of senior tourists in the future.

Article Details

Section
Academic Article

References

กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์. (2557). การจัดการการบริการ Service Management. กรุงเทพฯ: มปท.

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 - 2559. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

จินตนา บุญบงการ. (2539). การสร้างจิตสำนึกการให้บริการปรับปรุงการบริการภาครัฐ. กรุงเทพฯ: ฟอร์แมทพริ้นติ้ง.

จิตตินันท์ นันทไพบูลย์. (2556). ศิลปะการให้บริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2548). การวางแผนการท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เกษตรศาสตร์.

ชวกร ชมภูคา. (2555). นโยบายสร้างหลักประกันรายได้ผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตเทศบาล ตำบลบ้านกลาง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. การศึกษาค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2546). การตลาดบริการ ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ตรีเพ็ชร์ อ่ำเมือง และคณะ. (2556). คู่มือ - เทคนิคการให้บริการด้วยใจ. งานเลขานุการกิจและสภาคณาจารย์กองบริหารงานทั่วไป สำนักงานอธิการบดี. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ทัดดาว คำยอดใจ. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ารับบริการทางการแพทย์ของผู้สูงอายุ ในโรงพยาบาลของรัฐบาลอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. เศรษฐศาสตร์บัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ธีร์ ตีระจินดา และสมบัติ กาญจนกิจ. (2557). การส่งเสริมการท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นในตลาดท่องเที่ยวไทย. วารสารวิชาการ สถาบันการพลศึกษา. 6(1), 111-125.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และพรภัทรวดี วงศ์ปันทันา. (2557). จิตวิทยาบริการและคุณภาพบริการท่องเที่ยว. นนทบุรี: เฟิร์นเข้าหลวง พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ปิยฉัตร ทองแพง. (มปป.). รูปแบบการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุกรณีศึกษาผู้สูงอายุภาคกลาง. วารสารศรีวนาลัยวิจัย. 1(2), 70-75.

ภูมิ โชคเหมาะ. (2552). กฎหมายการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย. เข้าถึงได้จากhttps://www1.nrct.go.th/downloads/ac/branch/08_law/report_Law_for _Quality_of_Life_Promotion_of_the_Old_Age_Persons_in_Thailand.pdf. สืบค้นวันที่ 13 มีนาคม 2559.

รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมปี 2551 และแนวโน้มปี 2552. (2551). การพัฒนาศักยภาพธุรกิจบริการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของประเทศ. เข้าถึงได้จาก https://www.sme.go.th/SiteCollectionDocuments/White%20Paper/ 2551/chapter-10.pdf. สืบค้นวันที่ 13 มีนาคม 2559.

วารัชต์ มัธยมบุรุ. (2552). รูปแบบการบริหารจัดการท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นที่พำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: ดุษฎีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ฤดี หลิมไพโจน์. (2557). การตลาดบริการ (Service Marketing). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2549). การฉายภาพประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548 - 2568 : มหาวิทยาลัยมหิดล (เดือนมีนาคม). กรงเทพฯ: เอดิสันเพรสโพรดักส์.

สถาบันวิจัยสังคม มหาวิยาลัยเชียงใหม่. (2557). คู่มือแนวทางการปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวให้เหมาะสมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ (สำหรับชุมชนท่องเที่ยว). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2541). สถานภาพของผู้สูงอายุไทย: สถานการณ์ด้านสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย. เข้าถึงได้จาก https://advisor.anamai.moph. go.th/main.php?filename=env106. สืบค้นวันที่ 29 มกราคม 2559.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2551). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมปี 2551 และแนวโน้มปี 2552. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.

สุมาลย์ โทมัส. (2534). รายงานการวิจัยเรื่องพัฒนาการของการศึกษาเรื่องผู้สูงอายุในประเทศไทย. ปทุมธานี: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมยศ วัฒนากมลชัย และเยาวลักษณ์ ยิ้มอ่อน. (2553). นักท่องเที่ยวสูงอายุ: กลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยว. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 2(1), 95-103.

สมวงศ์ พงศส์ถาพร. (2550). เคล็ดไม่ลับการตลาดบริการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ยูบีซีแอลบุ๊คส์.

วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ และคณะ. (2557). การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่น. วารสารสภาการพยาบาล. 29(3), 104-115.

เอกวรา ธรรมกีรติวงศ์ และคณะ. (2556). ทิศทางการให้บริการของธุรกิจบริการสำหรับผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ที่ก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุ. ชลบุรี: สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3.

อรทัย เลิศวรรณวิทย์ และณักษ์ กุลิสร์. (2554). คุณภาพการให้บริการ และความภักดีด้านพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ต่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทางการแพทย์ในเขตกรุงเทพฯ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

อริสรา เสยานนท์. (2558). การจัดการที่พักตากอากาศ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

Kotler, P. (1997) Marketing Management: Analysis planning Implementation and Control. 8th ed. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice – Hall Inc.

Lloyd-Walker, B. and Cheung. Y.P. (1998). IT to Support Service Quality Excellence in Australia Banking Industry. Managing Service Quality. 8(November), 350-358.

Sanitmatcharo, P. (2006). A study of Tourist Behavior: A case Study of Independent European Travelers in Bangkok. Language Institute Journal. 3, 126-146.