การจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาคุณภาพของชุมชนท้องถิ่น
Main Article Content
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแผนยุทธศาสตร์การจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อพัฒนาคุณภาพของชุมชนท้องถิ่น ผลการสังเคราะห์และวิเคราะห์เอกสาร พบว่า แผนยุทธศาสตร์การจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพของชุมชนท้องถิ่นประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ คือ (1) พัฒนาระบบสารสนเทศด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (2) สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายการวิจัยภาคีต่าง ๆ เพื่อระดมทรัพยากรการวิจัย (3) พัฒนาศักยภาพและความสามารถบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยทุกระดับ (4) สร้างบรรยากาศและโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยให้งานวิจัยของหน่วยงานเป็นงานปกติขององค์กร (5) การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการจัดการงานวิจัยอย่างเป็นระบบครบวงจร และ (6) ผลักดันผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์ในชุมชน
The study aims to propose strategic plan for research management of Rajabhat Universities to develop quality of local communities. The findings show that the strategic plan of research management to develop quality of local communities focuses on 6 areas: (1) development of research information system for local communities, (2) building cooperation between research networking, (3) developing potential and enhancing competency of all personnel working in research sector, (4) building research based environment and research facilitations, (5) strengthening all research processes, and (6) implementation of the research results in the communities.
Article Details
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ทรรศนะและข้อคิดเห็นในบทความวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มิใช่เป็นทรรศนะและความคิดของผู้จัดทำจึงมิใช่ความรับผิดชอบของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มา
References
ชัชจริยา ใบลี. (2553). ข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างประสิทธิผลการจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชัยวัฒน์ คุประตกุล. (2551). “เพื่ออนาคต : สำคัญที่วิธีการ.” ประชาคมวิจัย. 13(77), 58-60.
เต็มดวง ตรีธัญญพงศ์. (2548). ระบบการบริหารจัดการงานวิจัยเครือข่ายสถาบันราชภัฏปีงบประมาณ 2547. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคมพ.ศ. 2559 สืบค้นจาก www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9480000084038.
ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข. (2549). อนาคตภาพการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของมหาวิทยาลัย ขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประเวศ วะสี. (2551). นักวิจัยทั่วไทย ร่วมงานประชุมวิชาการประจำปี สกว. ประชาคมวิจัย. 14(82) พฤศจิกายน-ธันวาคม 2551, 53-56.
ปิยะวัติ บุญ-หลง. (2548). “งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น.” ประชาคมวิจัย. 6(2), 4-7.
พัชริน ดำรงกิตติกุล. (2547). รากแก้วแห่งปัญญา : เครือข่าย ม.ราชภัฏ ความร่วมมือกับ สกว. “ขับเคลื่อนงานวิจัย” เพื่อพัฒนาท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559 จากwww.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9470000101411.
ราชกิจจานุเบกษา. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 –2559). เล่ม 128 ตอนพิเศษ 152 ง 14 ธันวาคม 2554.
ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี และคณะ. (2550). ระบบบริหารงานวิจัยสำหรับมหาวิทยาลัยภูมิภาค : กรณีศึกษาสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
สมชาติ โสภณรณฤทธิ์. (2551). “จากวันนั้น.....ถึงวันนี้.” ประชาคมวิจัย. 14(80), 25-30.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2547). การบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2559). ยุทธศาสตร์ พ.ศ.2557-2560 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฉบับทบทวน พ.ศ. 2559. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: บริษัทซีโนพับลิชชิ่ง แอนด์แพคเกจจิ้ง จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2550). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2556). แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2556). นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2555-2559). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักพัฒนาการฝึกหัดครู. (2544). กรอบความคิดและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการดำเนินงานวิจัยในสถาบันราชภัฏ. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
อานนท์ บุณยะรัตเวช. (2552). กลไกการขับเคลื่อนการวิจัยของชาติ (CRO). จดหมายข่าว วช., 4(20) ธันวาคม 2551- มกราคม 2552, 3.
Bud Bilanich. (2009). Organization effectiveness. Retrieved July 6, 2016, from https://www. budbilanich. com/OE-services.htm
Ed Batista. (2008). Key elements of organization effectiveness. Retrieved June 25, 2016, from https://edbatista.typepad.com/edbatista/images/2008/05/Effectiveness.html.