การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนทางด้านการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะส่งเสริมการอ่านจับใจความ บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น

Main Article Content

นงลักษณ์ ใจฉลาด
ชัยวัฒน์ จูเที่ยง
นพรัตน์ เจริญศิลป์
ธนนันท์ เจริญศิลป์
พรรณปภรณ์ สัมฤทธิ์โพธิ์ทอง
ศรีประภา ฮองต้น

บทคัดย่อ

           วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามเกณฑ์ 80/80, 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนทางด้านการอ่านจับใจความสำคัญบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้แบบฝึกทักษะส่งเสริมการอ่านจับใจความบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 20 คน จากโรงเรียนวัดจุฬามณี จังหวัดพิษณุโลก ได้มาโดยการเลือกอย่างง่ายโดยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านจับใจความสำคัญบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น 3) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านจับใจความสำคัญบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น 4) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที  
           ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ มีค่าเท่ากับ 83.75/85.25 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์, 2) ผลการเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านจับใจความสำคัญ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 3) ผลความพึงพอใจที่มีต่อแบบฝึกทักษะการอ่านในภาพรวมอยู่ในระดับมาก  

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์.

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2564). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในงานส่งเสริม การเกษตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด

จารุวรรณ ส่งเสริม. (2563). การศึกษาภูมิปัญญาการแสดงหมอลำเรื่องต่อกลอนทำนองอุบลคณะเพชรอุบล จังหวัดอุบลราชธานี. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

จำเนียร เล็กสุมา. (2552). การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความจากนิทานส่งเสริมคุณธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสร้างแผนที่ความคิด. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (หลักสูตรและการนิเทศ). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จิราภรณ์ บุญณรงค์. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนด้วยเทคนิค KWL กับวิธีสอนแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (หลักสูตรและการนิเทศ). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชลธิชา ปานยิ้ม. (2566). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบ SQ4R ร่วมกับแผนที่ความคิดสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 .วารสารนิสิตวัง. 25 (1), 21-22.

ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2552). การสังเคราะห์นิยามและแนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย. วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. 1 (1),50-59.

ณัฐชา อักษรเดช. (2554). การสร้างแบบฝึกการอ่านจับใจความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.วิทยานิพนธ์ กศ.ม.. (หลักสูตรและการสอน). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธัญลักษณ์ อ่างแก้ว. (2566). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง การอ่าน จับใจความสำคัญ โดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสาร บัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์. 18 (1), 50-51.

นันทวัน สมสุข และ สุชาดา ปัทมวิภาต. (2565). สะท้อนประเด็นจากผลการประเมิน PISA ด้านการอ่าน. สสวท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. www.ipst.ac.th : IPST MAGAZINE. 50 (273), 50-52.

นัฐพร ไพยะเสน. (2558). การพัฒนาหนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่องสระ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่¬ 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (หลักสูตรและการสอน). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

นิตยา เควิเลาะ. (255 1). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุดมาตราตัวสะกดไทย. วิทยานิพนธ์ ค.ม.(หลักสูตรและการสอน). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชกัฎราชนครินทร์.

พรสวรรค์ จันทร์เล็ก, ยุพิน จันทร์เรือง และปฎิพันธ์อุทยากูล. (2563). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้หนังสือนิทานคุณธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านสันโค้ง (เชียงราย จรูญราษฎร์) อำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. วารสารพิฆเนศวร์สาร. 15 (1) 81-96. 81-96.

มีนา พลสุวรรณ, อัญชลี แสงอาวุธ และกฤษณี สงสวัสดิ์. (2566). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้วิธีการสอนอ่านแบบ SQ4R ร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดแสงประดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสาร Journal of Roi Kaensarn Academi. 9 (6), 91-95.

รุจิษยา สิทธิมณี. (2559). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับ นักเรียนชั้ประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนา หลักสูตรและการเรียนการสอน. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

แวดาห์รี เปาะแว. (2565). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความเรื่อง เหตุการณ์สำคัญในสมัยคุละฟาอฺอัลรอ ชิดีนโดยใช้รูปแบบ SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสาร MENARA : Journal of Islamic and Contemporary Issues (M-JICI). 3 (2), 56-57.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สุนันทา กินรีวงค์. (2560). การอ่าน. มหาสารคาม: โรงพิมพ์ชัยมงคลปริ้นติ้ง.

สุรัสวดี จันทพันธ์. (2566). การวิจัยปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมการอ่านและการเขียนคำควบกล้ำของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโพนสว่าง โดยใช้ชุดกิจกรมการอ่านและการเขียนคำ ควบกล้ำร่วมกับการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สมศรี อภัย. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก และการลบ จำนวนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เสาวนีย์ ธนะสาร. (2553). การศึกษาความสามารถอ่านจับใจความและความสนใจในการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชนประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านการอ่านจากการสอนอ่านตามแนวการสอนแบบบูรณาการของเมอร์ด็อค. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อภิญญา โนบันเทา. (2563). การศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนและความสามารถในการอ่านจับใจความ ของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู ้ด้วยเทคนิค SQ4R ร่วมกับแบบฝึกทักษะ. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. 5 (3), 161.

Manzo and Ula. (2002). iREAP: Improving Reading. Writing. and Thinking in the Wired Classroom. Journal of Adolescent & Adult Literacy International Literacy Association. 46 (1), 42- 47.