การบริหารงานตามกรอบแนวคิดของแมคคินซีย์ 7-S เพื่อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้

Main Article Content

ณฤทธิ์ ประจงแต่ง
โชติ บดีรัฐ

บทคัดย่อ

           การบริหารงานตามกรอบแนวคิดของแมคคินซีย์ 7-S เพื่อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ จะสัมฤทธิ์ผลได้นั้น         สิ่งสำคัญคือ จะต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยซึ่งมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างน้อยที่สุด 7 ปัจจัย ได้แก่ 1) กลยุทธ์ 2) โครงสร้าง          3) ระบบ 4) รูปแบบ บุคคล 6) ทักษะ 7) ค่านิยมร่วม และมีการเชื่อมโยงและสร้างความรู้ความเข้าใจให้บุคลากรทุกคนทราบถึงปัจจัยสำคัญของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เพราะ “คน” ถือเป็นกุญแจดอกสำคัญของความสำเร็จ โดยเฉพาะการพัฒนาการเรียนรู้สภาวะของการเป็นผู้นำในองค์การ (Leadership) และการเรียนรู้ร่วมกันของคนในองค์การ (Team Learning) เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์และทักษะร่วมกัน และพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่องทันต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันที่มีการปรับตัวด้วยภูมิคุ้มกันของการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ให้สมารถอยู่รอด ปลอดภัย เข้มแข็ง เจริญก้าวหน้าได้อย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ
Author Biography

ณฤทธิ์ ประจงแต่ง, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

Doctor of Public Administration Program, Pibulsongkram Rajabhat University

References

กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. (2562). การจัดการการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.

กิตติยา อินทกาญจน์. (2553). การเรียนรู้ระดับบุคคลและระดับทีมขององค์กร: กรณีศึกษาองค์การที่ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติได้ทำการศึกษาการเรียนรู้ขององค์กรที่ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. 51 (1), 201-219.

ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. (2560). หลักการจัดการธุรกิจปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประพนธ์ ผาสุกยืด. (2550). การจัดการความรู้จากหลักคิดสู่การปฏิบัติจริง. กรุงเทพมหานคร: ใยไหม.

ฤทธิชัย บุญธรรม และ วิไลลักษณ์ เรืองสม. (2562). รูปแบบการบริหารงานแบบ 7s framework กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติของนักศึกษาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 2116-2126.

วิจารณ์ พานิช. (2557). การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

สุชาติ กิจธนะเสรี. (2559). การก้าวสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สมพร ศิลป์สุวรรณ์. (2550). HR กับการพัฒนาองค์กรสู่ High Performance Organization. (ในเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการและการบรรยาย วันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2550 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร). สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย.

เอื้อน ปิ่นเงิน และยืน ภู่วรวรรณ. (2546). สาเหตุของการจัดการความรู้. การสัมมนาวิชาการ "การจัดการความรู้: ยุทธศาสตร์และเครื่องมือ" (Knowledge Management: Strategies &Tools), 13 – 14 พฤศจิกายน 2546. จัดโดยห้องสมุดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและชมรมห้องสมุดเฉพาะสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ.

Garvin, D. (1993). Building a learning organization. Harvard Business Review, 71, 78-91. 62 Naresuan University Journal 2005, 13 (3).

Marquardt, M., & Reynolds, A. (1994). The global learning organization. Burr Ridge, IL: Irwin Professional.

Marquardt, M. J. (1996). Building the learning organization: a systems approach to quantum improvement and global success. New York: McGraw-Hill.

Peters, Thomas, Waterman, H . and Robert Jr. (2004). In search of Excellence: Lesson from American's Best Run Companies. New York: Harper and Row Publisher.

Senge, P. M. (1990). The fifth disciplines: the art and practice of learning organization. London: Century Business.