สถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2566
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เผยแพร่ ความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะวิกฤตของสถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพในปัจจุบัน เพื่อหยุดยั้งการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ และเพื่อให้สาธารณชนทราบความสำคัญและความจำเป็นของความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งความหลากหลายทางพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ และระบบนิเวศ ซึ่งมีบทบาทเกื้อหนุนคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นอย่างมากของจำนวนประชากรมนุษย์ ร่วมกับความเจริญก้าวหน้าในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของสังคมมนุษย์อย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลา 200 กว่าปีที่ผ่านมา ทำให้มนุษย์ใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพเกินขีดจำกัดการเกิดใหม่ทดแทนของสิ่งมีชีวิต ส่งผลให้จำนวนประชากรสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติลดลงและสิ่งมีชีวิตบางชนิดสูญพันธุ์ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นต้องอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพทั้ง พืช สัตว์ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและระบบนิเวศ การมีส่วนร่วมของสาธารณชนและความร่วมมือจากมนุษย์ทุกคนในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพด้วยการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน บริโภคพอดีตามความจำเป็น ลดการบริโภคอย่างฟุ่มเฟือย ละเว้นการเบียดเบียนชีวิตและทำลายล้างทรัพยากรชีวภาพ เพื่อเปิดโอกาสให้สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติมีโอกาสอยู่รอด ขยายเผ่าพันธุ์ และส่งมอบบริการจากระบบนิเวศ ซึ่งสำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นในธรรมชาติอย่างยั่งยืน
Article Details
References
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (2566). โครงการพัฒนาระบบประเมินการเกิดปะการังฟอกขาว. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://thailandcoralbleaching. dmcr.go.th/th/blog/13608
กรมป่าไม้. (2553). ข้อมูลสถิติกรมป่าไม้ 2550. สำนักแผนงานและสารสนเทศ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://forestinfo.forest.go.th/Content/file/stat/e-book% 202550.pdf
กรมป่าไม้. (2565). ข้อมูลสถิติกรมป่าไม้ 2564. สำนักแผนงานและสารสนเทศ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://forestinfo.forest.go.th/Content/file/stat2564/Binder% 2064(1).pdf
กรมอุตุนิยมวิทยา. (2564). สภาวะอากาศของประเทศไทย พ.ศ. 2564. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: http://climate.tmd.go.th/content/file/2355
กรมอุตุนิยมวิทยา. (2565). สภาวะอากาศของประเทศไทย พ.ศ. 2565. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: http://climate.tmd.go.th/content/file/2708
กองจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ. (2565). เกษตรกรรม ทำอย่างไรให้เป็นมิตรต่อระบบนิเวศ. Bio – Brief, ฉบับที่ 1/2565, 1 – 11. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://chm-thai.onep.go.th/wp-content/uploads/2022/02/Biobrief_Sustainable_Agriculture.pdf
กองจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ. (2566). กลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภาพ. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://chm-thai.onep.go.th/?page_id=751
กฤศ ฉายแสงเดือน, เศรษฐบุตร อิทธิธรรมวินิจ และ วิเทศ ศรีเนตร. (2018). แนวทางมาตรการจูงใจเพื่ออนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนในไทย. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4 (Special 2018), 86 – 102.
จตุพร เทียรมา, เดชรัตน์ สุขกำเนิด, และ ปิติ กันตังกุล. (2557). การใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการบริการของระบบนิเวศ พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยสามหมอ. วารสารวิจัยสังคม, 37 (2), 243 – 279.
จริยา โกเมนต์, เฉลิมชัย ปัญญาดีและคณะ. (2563). การพัฒนาหลักเกณฑ์ข้อกำหนดการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพสำหรับวิสาหกิจชุมชนเพื่อสังคม. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย. 15 (2), 92 - 104.
ทศพล ชัยสัมฤทธิ์ผล. (2023). ดินแดนแห่งอีกัวน่าในชนบทไทย ทำไมรัฐบาลจึงยังไม่ส่งเสริม “การฆ่า” ก่อนสายเกินแก้. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.bbc.com/thai/ articles/c7255r8j212o
ปิติ ศรีแสงนาม. (2018). จาก Industry 4.0 ถึงสงครามการค้าสหรัฐ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.the101.world/industry-4-0-and-trade-war/
พระพิทักษ์ คุณารกโข (ใจคง). (2565). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แบบยั่งยืนเชิงพุทธ. วารสารวิจยวิชาการ. 5 (2), 285 – 296. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/247739/171877
พระไตรปิฎกแปลไทย ฉบับหลวง 45 เล่ม. (2566). พระสุตตันตปิฎก เล่ม 2 ทีฆนิกาย มหาวรรค หน้าที่ 216 - 233. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.thepathofpurity. com/home/พระไตรป-ฎก-pdf/แปล-๔๕-เล-ม-ฉบ-บหลวง/
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2017). เศรษฐกิจพอเพียง. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.chaipat.or.th/publication/publish-document/sufficiency-economy.html
วิจิตร คดเกี้ยว และ ประเวศ อินทองปาน. (2560). การศึกษาเชิงวิเคราะห์มรรคมีองค์ 8 ในพุทธปรัชญาเถรวาทกับภาวะสมดุลของระบบนิเวศ. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. 13 (3), 82 – 95. ออนไลน์.
วรดลต์ แจ่มจำรูญ. (2566). พรรณพฤกษชาติแห่งประเทศไทย และการประเมินสถานภาพพืชในประเทศไทย. คลังความรู้ดิจิตอล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2566. แหล่งที่มา: https://kukr.lib.ku.ac.th
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2565). กฎหมายเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ. กรุงเทพมหานคร. ฝ่ายค้นคว้าและเปรียบเทียบกฎหมาย. กองกฎหมายต่างประเทศ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2566. แหล่งที่มา: https://lawforasean.krisdika.go.th/File/files/Biodiversity.pdf
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). การจ่ายค่าตอบแทนการให้บริการของระบบนิเวศ. The 3rd South-East Asia Workshop on Payment for Ecosystem Service (PES) – Investment in Natural Capital for Green Growth. 12-15 มิถุนายน 2554. เมืองบันดา อาเจะห์ ประเทศอินโดนีเซีย. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2566. แหล่งที่มา: https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=2699
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2562). รายงานแห่งชาติว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ฉบับที่ 6. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2566. แหล่งที่มา: https://www.onep.go.th/ebook/bio/th6-national-report-bio-diversity.pdf
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2563). สถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย พ.ศ. 2563. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร. ต้นคิดครีเอท. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2566. แหล่งที่มา: https://chm-thai.onep.go.th/?p=4211
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2565). แนวทางการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานของประเทศไทย. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2566. แหล่งที่มา: https://chm-thai.onep.go.th/?p=7355
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2542). สถิติสาธารณสุข 2540. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://spd.moph.go.th/wp-content/ uploads/2022/11/Hstatistic40.pdf
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2566). สถิติสาธารณสุข 2565. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://spd.moph.go.th/wp-content/ uploads/2023/11/Hstatistic65.pdf
Ceballos, G., Ehrlich, P. R., and Raven, P. H., (2020). Vertebrates on the brink as indicators of biological annihilation and the sixth mass extinction. PNAS, 117 (24), 13596 – 13602. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.pnas.org/doi/full/ 10.1073/pnas.1922686117
Convention on Biodiversity. (2018). Conference of the parties to the convention on biological diversity, Fourteenth meeting, Sharm-El-Sheikh, Egypt, 17 – 19 November 2018, Agenda item 17. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.cbd.int/ doc/c/0b54/1750/607267ea9109b52b750314a0/cop-14-09-en.pdf
IPBES. (2019) Summary for policymakers of the IPBES global assessment report on biodiversity and ecosystem services of the Intergovernmental Science-Policy Platform on Biodiversity and Ecosystem Services. IPBES secretariat, Bonn Germany. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา : https://files.ipbes.net/ipbes-web-prod-public-files/inline/files/ipbes_global_assessment_report_summary_for_policymakers.pdf
IPBES. (2023 a). MEDIA RELEASE. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.ipbes.net/IASmediarelease
IPBES. (2023 b). Summary for Policymakers of the Thematic Assessment Report on Invasive Alien Species and their Control of the Intergovernmental Science-Policy Platform on Biodiversity and Ecosystem Services. IPBES secretariat, Bonn, Germany. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://doi.org/10.5281/zenodo.7430692
Johnston R. Wm. (2015). Historical World Population Data. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.johnstonsarchive.net/other/worldpop.html
UNEP. (2023). Five drivers of the nature crisis. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.unep.org/news-and-stories/story/five-drivers-nature-crisis
UNEP/FAO. (2020). UNEP/FAO Factsheet: The UN Decade on Ecosystem Restoration 2021 -2030 “Prevent halt and reverse the degradation of ecosystems worldwide”. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://wedocs.unep.org/bitstream/ handle/20.500.11822/30919/UNDecade.pdf
United Nations. (2022). Day of Eight Billion. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.un.org/en/dayof8billion
United Nations. (2023). Climate Action; Biodiversity - our strongest natural defense against climate change. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.un. org/en/climatechange/science/climate-issues/biodiversity
Worldometer. (2023). World Population by Year. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.worldometers.info/world-population/world-population-by-year/
WWF. (2022). Living Planet Report 2022 – Building a nature – positive society. WWF, Gland, Switzerland. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา: https://wwflpr.awsassets. panda.org/downloads/lpr_2022_full_report.pdf