การใช้การเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านและเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

กฤติพร จินะราช

บทคัดย่อ

         การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนรู้เชิงรุกและเพื่อศึกษาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยใช้การเรียนรู้เชิงรุก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการจับฉลาก (Lottery) นวัตกรรมที่ใช้คือการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ซึ่งบรรจุอยู่ในแผน 6 แผน รวมทั้งสิ้น 18 คาบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย แบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก และแบบประเมินความสามารถในการเขียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และ สถิตทดสอบที (Paired-Sample T-Test) ผลการวิจัยพบว่าความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5 และ มีพัฒนาการทางความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 65 ผลงานวิจัยสามารถนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนและการพัฒนาหลักสูตรที่อิงการเรียนรู้เชิงรุก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2553). Active Learning. เชียงใหม่ : หน่วยส่งเสริมและพัฒนาวิชาการงานบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ดุษฎี โยเหลาและคณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุดความรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณ์ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพมหานคร: หจก. ทิพยวิสุทธิ์.

ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธารณา สุวรรณเจริญ. (2563). การพัฒนาทักษะการเขียนภาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเมืองเก่า (ศรีอินทราทิตย์) จังหวัดสุโขทัย. วารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. 5 (9), 19-28.

ปวีณา แย้มใส. (2564). การประยุกต์ใช้การจัดการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น (Active Learning) ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. วารสาร มจร ภาษาและวัฒนธรรม. 1 (2), 29-41.

มนัสวี ดวงลอย. (2558). ปัจจัยทที่มีผลต่อปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาของ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 3 (1), 153-167. https://ph02.tcithaijo.org/index.php/jtermutt/article/view/ 182833

เยาวลักษณ์ ภวะโชติ. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุกประกอบกับชุดฝึกทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษที่ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสาร e-Journal of Education Studies, Burapha University. 2 (4), 53-65.

วิจารณ์ พานิช. (2556). สนุกกับการเรียนในศตวรรษ ที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

ศุภาพิชญ์ มณีสาคร โฟน โบร์แมนนน์, วรรณวดี ณภัค, และ ปิยอร วจนะทินภัทร. (2563). ผลของการจัดการเรียนเชิงรุกโดยใช้กิจกรรมเป็นฐานต่อความรู้ ทักษะการอ่านและเขียนภาษาอังกฤษและทัศนคติต่อการเรียนของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 15 (1), 35-46.

สุดาพร ปัญญาพฤกษ์. (2562). การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 34 (2), 31-40.

สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2557). สะเต็มศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 186, 3–5.

อนุสิษฐ์ พันธ์กล้า และคณะ. (2560). ผลการใช้การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. เอกสารรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4. สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

Arsairach, S., Puengkaew, N., & Sukumek, S. (2021). Enhancing English Reading Comprehension Ability by Using Active Learning. Dhammathas Academic Journal, 21 (4), 23-32.

Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active Learning: Creating Excitement in the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Report. Washington DC: School of Education and Human Development, George Washington University.

Boonyarattanasoontorn, P. (2017). An investigation of Thai students’ English language writing difficulties and their use of writing strategies. Journal of Advanced Research in Social Sciences and Humanities, 2 (2), 111-118.

Brown, H. D. (2000). Principles of Language Learning and Teaching (4th ed.). White Plains,

NY: Pearson Education.

Carroll, B. J. (1980). Testing Communicative Performance. London: Pergamon.

Education First English Proficiency Index. (2022). The world’s largest ranking of countries and regions by English skills. Retrieved 23 November, 2022, from https://www. ef.com/wwen/epi/Srinakharinwirot University.

Jacobs, H. L., S. A. Zingraf, D. R. Wormuth, V. F. Hartfiel, & J. B. Hughey. (1981). Testing ESL Composition: A Practical Approach. Rowley, MA: Newbury House.

Johnson, D.W., Johnson, R.T. and Smith, K.A. (1991). Active : Learning : Cooperation in the College Classroom. Edina, MN: Interaction Book Company.

Koul, L. (1984). Methodology of educational Research. New Delhi: Vani Education Book.

Krashen, S. (1984). Writing: Research, Theory and Applications. Language Arts, 60, 568-580.

Negari, G.M. (2011). A study on strategy instruction and EFL learners’ writing skill. International Journal of English Linguistics, 1 (2), 299-307. http://dx.doi.org/10.5539/ ijel.v1n2p299.

Nunan, D. (1990). Learner-Centred Curriculum. Cambridge: Cambridge University Press.

Piaget, J. (1964). Cognitive Development in Children: Development and Learning. Journal of

Research in Science Teaching, 2, 176-186. http://dx.doi.org/10.1002/tea.366002030

Puengpipattrakul, W. (2014). L2 learner’s-instructor’s win-win tactics through alternative assessment of writing. NIDA Development Journal, 54 (4), 1-16.

Vygotsky, L. S. (1986). Thought and language. Cambridge, MA: MIT Press.