คุณลักษณะของนักบัญชีที่คาดหวังที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพ รายงานทางการเงินของสำนักงานบัญชีในภาคใต้
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของคุณลักษณะของนักบัญชีที่คาดหวังและคุณภาพรายงานทางการเงินของสำนักงานบัญชีในภาคใต้ และเพื่อศึกษาคุณลักษณะของนักบัญชีที่คาดหวังที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของการจัดทำรายงานทางการเงินของสำนักงานบัญชีในภาคใต้ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เจ้าของสำนักงานบัญชีในภาคใต้เป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้รับการตอบกลับจำนวน 177 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผู้วิจัยได้ทำการตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นโดยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ หลังจากนั้นจึงทำการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคุณเพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะของนักบัญชีที่คาดหวัง ด้านความเชี่ยวชาญทางด้านบัญชี จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และความรู้เกี่ยวกับธุรกิจและกฎหมายที่เกี่ยวข้องมีอิทธิพลเชิงบวกต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของสำนักงานบัญชีในภาคใต้ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาศักยภาพคุณลักษณะของนักบัญชีเพื่อนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทำรายงานทางการเงิน และใช้ในการกำหนดนโยบายการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรของสถาบันการศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะของนักบัญชีที่ตลาดแรงงานต้องการต่อไป
Article Details
References
กมลภู สันทะจักร์ และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์ (2561). คุณลักษณะนักบัญชีที่พึงประสงค์ในยุคไทยแลนด์ 4.0ของหน่วยงานราชการในประเทศไทย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 5 (3), 771-790.
กมลภู สันทะจักร์ และ กนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2562). ปัจจัยของนักบัญชียุคดิจิทัลที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานราชการในประเทศไทย. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. 17 (1), 17-31.
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2564). รายชื่อสำนักงานบัญชีในแต่ละจังหวัด. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2564. แหล่งที่มา: http://www.dbd.go.th/news_view.php?nid=469403169
กุลธิดา ธนสมบัติศิริ และดารณี เอื้อชนะจิต. (2565). คุณลักษณะของนักบัญชียุคใหม่ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในสำนักงานรับทำบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสาร มทร.อีสาน ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 9 (2), 12-23.
จิตรเลขา ทาสี, บัณฑิต ร่มเย็น และนพวรรณ ทองรอด. (2563). คุณลักษณะของนักบัญชีที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารรัชต์ภาคย์. 14 (37), 94-108.
ฉัตรรัชดา วิโรจน์รัตน์. (2561). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีปฏิบัติงานบัญชีสมัยใหม่, การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี, ความเชี่ยวชาญทางการบัญชีอย่างมืออาชีพที่มีต่อประสิทธิภาพรายงานทางการเงินของนักบัญชีในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่. 11 (1), 17-34.
ชุมพล รอดแจ่ม และรุ่งระวี มังสิงห์ (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันสมรรถนะของนักบัญชีตามคุณลักษณะนักบัญชีที่พึงประสงค์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. 5 (1), 29-44.
ฐิติรัตน์ มีมาก, รติกร บุญสวาท และชุติมา ขลิบทอง. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณและทักษะทางวิชาชีพกับประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในสำนักงานบัญชี จังหวัดนครราชสีมา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 7. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
ณัฐชุนันท์ คมด้วยศิริ และสุขุมาลย์ ชานิจ (2563) การปฏิบัติงานตามเกณฑ์การรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชีของสำนักงานบัญชี ในเขตภาคตะวันออก. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 6 (2), 59-71.
ทัดดาว สิทธิรักษ์. (2557). ผลกระทบศักยภาพของนักบัญชีที่มีต่อคุณภาพรายงานทางการเงิน กรณีศึกษาเชิงประจักษ์นักบัญชีในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์.
ผกาวดี นิลสุวรรณ, วราพร รุ่งเรือง, วนิดา แพงศรี, ประไพรศรี สุภาจันทร์ และศศิกร เครือผือ. (2563). คุณสมบัติของนักบัญชีที่พึงประสงค์ที่ส่งผลต่อคุณภาพของการจัดทำงบการเงินของสำนักงานบัญชีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ผกามาศ บุตรสาลี, สุพัตรา รักการศิลป์ และเอมอร แสวงวโรตม์ (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของนักบัญชีที่คาดหวังและการปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีกับคุณภาพข้อมูลทางบัญชีของนักบัญชีในสำนักงานบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสหวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 6 (1), 28-44.
พิลาสินี เอ้ยวัน, ปริยนุช ปัญญา และจตุรภัทร วงศ์สิริสถาพร (2563). กระบวนการปฏิบัติงานทางบัญชีที่ดีที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสานักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 9 (2), 42-51.
พัชรทิตา นวลละออง. (2562). ผลกระทบของความรู้ความสามารถและสมรรถนะหลักของนักบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพในการจัดทำรายงานทางการเงิน: กรณีศึกษานักบัญชีในกรมสรรพสามิต. วิทยานิพนธ์บัญชีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ธรารินทร์ ใจเอื้อพลสุข. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ยุพา สะรุโณ, ลำไย มีเสน่ห์, ธีร์วรา สุตัณฑวิบูลย์, รุจิรา แสงแข และพรสิริ สุขผ่อง. (2565). คุณลักษณะของนักบัญชีที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินที่สำนักงานบัญชีต้องการในยุค New Normal อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. วารสารกลยุทธ์และความสามารถทางการแข่งขันองค์กร. 1 (3), 47-65.
ลลิตา พิมทา และบุญช่วง ศรีธรราษฏร์. (2562). ผลกระทบของจริยธรรมทางการบัญชีที่มีต่อความสำเร็จในการทำงานของนักบัญชีบริษัทในจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. 8 (2), 119-141.
วราพร เปรมพาณิชย์นุกูล. (2561). ผลกระทบของความรอบรู้ในการวางแผนภาษีที่มีต่อประสิทธิภาพการวางแผนภาษีของผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจ SMEsในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่. 11 (1), 106-123.
สิริพรรณ์ โกมลรัตน์มงคล และพิเชษฐ์ โสภาพงษ์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 26 (2), 46-60.
สิริพรรณ์ โกมลรัตน์มงคล และฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของรัฐวิสาหกิจไทย ในมุมมองของนักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ที่มีประสบการณ์ในการตรวจสอบ. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 13 (1), 50-61.
อนงค์วรรณ อุประดิษฐ์ (2559). ข้อกำหนดการรับรองคุณภาพของสำนักงานบัญชีที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการรับรองคุณภาพของสำนักงานบัญชีในจังหวัดลำปาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. 10 (4), 60-71.
อนุวัฒน์ ภักดี. (2561). ผลกระทบของลักษณะคณะกรรมการต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 13 (1), 164-175.
อมร โททำ (2559). คุณภาพรายงานทางการเงินของบริษัทจำกัดในเขตอำเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 10 (3), 223-231.
Alfrijat Y.S., and Albawwat I. E. (2019). Values, ethics, and attitudes (IES 4) and earnings management from the viewpoint of the financial accountants at Amman Stock Exchange. Accounting and Management Information Systems. 18 (3), 379-398.
Armstrong, J. S., and Overton, T. S. (1977). Estimating nonresponse bias in mail surveys. Journal of Marketing Research. 14 (3), 396–402.
Ashari, S. and Krismiaji, K. (2019). Audit Committee Characteristics and Financial Performance: Indonesian Evidence. Equity. 22 (2), 139-152.
Borgi H. (2022). XBRL technology adoption and consequences: A synthesis of theories and suggestions of future research. Journal of Accounting and Management Information Systems. 21 (2), 220-235.
Cameran, M., Campa D., and Francis, J.R. (2022). The Relative Importance of Auditor Characteristics Versus Client Factors in Explaining Audit Quality. Journal of Accounting, Auditing and Finance. 37 (4) 751–776.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B.J., and Anderson, R. E. (2018). Multivariate Data Analysis. 8th ed. Prentice Hall, Upper Saddle River, New Jersey.
Hertina D., Yendri, O., Rachmad, Y.E., Samosir, H.E. Putra, H.D. (2023). The Role of Audit Quality as a Moderating Variable in Relationship Between Quality of Audit Committee, Company Size and Financial Report Integrity of Manufacturing Companies Listed in IDX. Journal of Economic, Bussines and Accounting (COSTING). 6 (2), 2244-2259.
Huang, S.X. and Kim M. (2023). Accounting Quality and Household Stock Market Participation. Accounting Horizons. 37 (1), 93-120.
Kumar, v., Leone, R.P., Aaker, D.A., Day G.S. (2018). Marketing Research. 13th ed. John Wiley and Sons New York, NY.
Morais, H.C., Macedo. M.A. (2021). Relationship between earnings management and abnormal book-tax differences in Brazil. Revista Contabilidade and Finanças 32 (85), 46-64. DOI:10.1590/1808-057x202009230
Mustapha M., Ku-Ismail K.N. and Ahmad H.N., (2019). Professionalism, Competency and Financial Reporting Quality: A Perception of Director of Finance in a Changing Public Sector Reporting Standard. Jurnal Pengurusan 57, 1-19.
Salkind, N. J. (2019). Exploring Resrearch (9th Edition). In Pearson Education, Inc.
Shrestha, N. (2020). Detecting Multicollinearity in Regression Analysis. American Journal of Applied Mathematics and Statistics. 8 (2), 39-42.
Singh N, Lai K, Vejvar M, and Cheng T.C.E. (2019) Data-driven auditing: A predictive modeling approach to fraud detection and classification. Journal of Corporate Accounting and Finance. 30 (3), 64–82.
Terblanche E.A. and Clercq B.D. (2021). A critical thinking competency framework for accounting students. Accounting Education, 30 (4), 325–354.
Walton. S., Yang L., Zhang. Y. (2021). XBRL Tag Extensions and Tax Accrual Quality. Journal of Information Systems. 35 (2), 91-114.
West. A., and Buckby. S. (2020). Ethics Education in the Qualification of Professional Accountants: Insights from Australia and New Zealand. Journal of Business Ethics, 164, 61–80.