รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

นพรัตน์ ภักดีพันดอน
พนายุทธ เชยบาล
สมคิด สร้อยน้ำ

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา และ 2) ตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานครูโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 627 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม G*Power3 และจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.986 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ใช้โปรแกรมลิสเรลในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนระหว่างโมเดลสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์
          ผลการวิจัยพบว่า
1.ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก


2. โมเดลปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครู มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยโมเดลสุดท้ายมีค่าสถิติ ดังต่อไปนี้ x2= 120.58, df = 98, p = 0.06, GFI = 0.98,         AGFI =0.96, RMSEA=0.02, SRMR=0.02 และ CN= 693.972

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กันตยา เพิ่มผล. (2552). การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาทุนมนุษย์.

จินตนา สุจจานนท์. (2554). การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). การวิเคราะห์อภิมาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นภนต์กฤต สรรพอาสา. (2562). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเอกชน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

พจน์ เจริญสันเทียะ. (2551). การพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการครูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2555). สมรรถนะครูและแนวทางการพัฒนาครูในสังคมที่เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ภัทรวรรณ คำแปล. (2559). โมเดลสมการโครงสร้างของปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีในองค์กรของมหาวิทยาลัยสายผู้สอนมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

รณชิต ฤทธิ์สำเร็จ. (2558). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วิจารณ์ พานิช. (2564). ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และ รัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2551). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย ทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์เทคนิค การใช้โปรแกรม LISREL. กรุงเทพฯ: มิสชั่น มีเดีย.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). การกําหนดภาระงานสอนของข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาสายงานสอน. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครู. กรุงเทพฯ:กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). นโยบายปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สมใจ ลักษณะ. (2552). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: ธนวัชการพิมพ์.

สุวณี อึ่งวรากร. (2558). อภิวัฒน์การเรียนรู้สู่คุณภาพการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารเครือข่าย วิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 2(1), 65-770.

อำพร อัศวโรจนกุลชัย. (2553). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีน. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1993). The measurement and antecedents of affective, continuance, And normative commitment to the organization. Journal Of Occupational Psychology. 63(1). 1-18.

Boyatzis, R. E. (1982.). The competent manager: A model for effective performance. New York: Wiley.

Dresser, H. W. (2009). Human Efficiency : A Psychological Study of Modern Problems (online). Accessed 7 April 2021. from : http://www.archive.org/stream/humanefficiencyp00dresiala, 3-20.

Chen, Y. C., & Kwok T. (2001). “A framework of total Teacher Effectiveness.” In Teaching Effectiveness and Teacher Development: Towards A New Knowledge Base, 57-83. Edited by Yin C., Magdalena M., & Kwok T. Hong Kong: the Hong Kong Institute of Education.

Craig J. Russell. (2001). A Longitudinal study of top-level executive performance. Journal of Applied Psychology. 86(4): 560-73

Downer, D. F. (1989). A Comparison of the Attitude Structures of Five Sub-Public In Newfoundland Concerning the Factors and Definitions of Effective School. Dissertation Abstracts International. 52(9), 3136-A

Doylie, A. (2019). Collaboration skills: definition, list, and examples. (online). Accessed 7 April 2021.

Howell, D. C. (2010). Statistical methods for psychology. 7th ed. Belmont: Wadsworth, Cengage Learning.

Medley D.M. (1982). “Teacher effectiveness” New York: McGraw-Hill.

Patterson, K. J. (1988). School culture. San Francisco: Jersey Bass.

Spencer, L. M. & Spencer S. M. (1993). Competence at work: Models for superior performance. New York: Wiley.

Woolfolk, A. (2007). Educational psychology 10th ed. Boston: Allyn and Bacon.