วัฒนธรรมทางการเมืองภายใต้การพัฒนาประชาธิปไตยของไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องทราบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของไทย เพื่อสรุปเป็นแนวทางในการพัฒนา คือ รัฐต้องส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยทั้งในระดับล่างหรือระดับท้องถิ่นรวมทั้งการส่งเสริมการศึกษาตั้งแต่ระดับต้นจนถึงระดับมหาวิทยาลัย ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีมีความเชื่อมั่นศรัทธาต่อหลักการประชาธิปไตย จนประชาชนรู้สึกห่วงแหนระบอบประชาธิปไตย ซึ่งมีหลักการว่าการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน เคารพในหลักสิทธิและเสรีภาพของตนเองและบุคคลอื่นประกอบกับยึดมั่นในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ รวมทั้งเรื่องการแสดงความคิดเห็นและการรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นเคารพหลักความเสมอภาค เคารพหลักนิติธรรม มีจิตใจเป็นประชาธิปไตยจึงทำให้วัฒนธรรมทางการเมืองมีพัฒนาการที่สูงขึ้น
Article Details
References
ฌานิทธิ์ สันตะพันธุ์. (2549). วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย : รัฐธรรมนูญที่แท้จริงซึ่งไม่เคยถูกยกเลิก. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม 2564. แหล่งที่มา: http://publiclaw.net/publaw/view.aspx?id=1014.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2552). การเมืองไทยและประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: มิสเตอร์ก๊อปปี้.
วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ. (2544). วัฒนธรรมทางการเมืองการเมืองการปกครองไทยตามรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: วี.เจ.พริ้นติ้ง.
วิศิษฐ ทวีเศรษฐ, สุขุม นวลสกุล, และวิทยา จิตนุพงศ์, (2554). การเมืองและการปกครองไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สมปอง รักษาธรรม. (2552). ความตื่นตัวทางการเมืองของเยาวชนในพื้นที่ภาคใต้กับการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทยช่วงปี พ.ศ.2549-2552 : ศึกษากรณีเปรียบเทียบนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา 5 จังหวัดภาคใต้. ดุษฎีนิพนธ์ สาขาสื่อสารการเมือง. วิทยาลัยสื่อสารการเมือง. มหาวิทยาลัยเกริก.
อุไรวรรณ ธนสถิต. (2552). วัฒนธรรมการเมืองแบบประชาธิปไตย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 7 (3), 1-14.
Almond, G. A., & Verba, S. (1963). The Civic Culture : Political Attitudes and Democracy in Five Nations. California : SAGE.
Heywood, A. (1997). Politics. London: Macmillan, p. 202.