การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดด้านคำศัพท์ในการเขียนภาษาอังกฤษระดับย่อหน้า ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสนามจันทร์

Main Article Content

พนิตภิชาญ์ มานอก
ภัทร์ธีรา เทียนเพิ่มพูน

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาข้อผิดพลาดด้านคำศัพท์ในงานเขียนภาษาอังกฤษระดับย่อหน้าของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาในการเรียนการสอนทักษะการเขียนภาษาอังกฤษระดับย่อหน้า กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร      ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา 081102 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) งานเขียนภาษาอังกฤษระดับย่อหน้าของนักศึกษา 2) แบบบันทึกข้อผิดพลาดด้านคำศัพท์ในการเขียนภาษาอังกฤษ และ 3) แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ และพรรณาวิเคราะห์พร้อมยกตัวอย่าง
          ผลการวิจัยพบว่า 1) จำนวนข้อผิดพลาดที่พบทั้งหมดคือ 40 ครั้ง ซึ่งข้อผิดพลาดที่มีจำนวนมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้ชนิดของคำ (Mix-up of Part of Speech) คิดเป็นร้อยละ 30 การละตัวสะกด (Omission) คิดเป็นร้อยละ 22.5 และการใช้คำบุพบทที่ไม่เหมาะสม (Preposition Partner) คิดเป็นร้อยละ 15 และในส่วนของข้อผิดพลาดที่พบน้อยที่สุด คือ ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้สระผิดรูปเสียง (Vowel-based type) คิดเป็นร้อยละ 2.5 2) แนวทางการพัฒนาในการเรียนการสอนทักษะการเขียนภาษาอังกฤษระดับย่อหน้า

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กะรัตเพชร คงรอด. (2560). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดด้านการใช้คำในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของนักศึกษาไทยระดับปริญญาตรี. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กมลวัน สังสีแก้ว. (2560). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. เชียงใหม่: วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

กุลธิดา แย้มอิ่ม. (2545). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดด้านโครงสร้างทางไวยากรณ์ในการเขียน จดหมายธุรกิจของนักศึกษา สาขาวิชาเอกธุรกิจการโรงแรมวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรรวิโรฒ.

กฤษณ์ โกมลมิศร์. (2547). การสื่อสารภายในองค์กร...ใครว่าไม่สำคัญ?. อีลีดเดอร์. 16 (4), 30.

จอมขวัญ หลาวเพ็ชร์. (2546). การสื่อสารในองค์กรล่ม องค์กรไม่เหลือ !. อินดัสเทรียลเทคโนโลยีรีวิว (Industrial technology review). 10 (15), 168-174.

ดวงใจ ไทยอุบุญ และ กวิสรา รัตนากร. (2538). ภาษาไทย1 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงพงา ประกิ่ง. (2557). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดด้านไวยากรณ์ในประกาศภาษาอังกฤษออนไลน์: กรณีศึกษา บริษัทซิเลซติกา (ประเทศไทย). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา

บุญศิริ ผ่องอักษร. (2524). การเขียนสำหรับสาขาวิชา ภาษาปริทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พัชรี อิ่มศรี. (2562). การเรียนรู้ภาษาอังกฤษนอกห้องเรียนผ่านกระบวนการวิชาการรับใช้สังคม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ: วิชาการรับใช้สังคม ครั้งที่ 9. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

ภรณ์พรรษา บุญเพชร. (2557). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในจดหมายเพื่องานธุรกิจของนักศึกษาวิชาเอกบริหารธุรกิจ โรงเรียนอักษรเทคโนโลยีพัทยา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา

มณทิญา พ่วงทรัพย์. (2560). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ peer review บนบล็อคเพื่อพัฒนาความสามารถในการวิจารณ์และแรงจูงใจในการเขียนบทความภาษาฝรั่งเศส. มนุษยศาสตร์สาร, 18 (2), 213-244.

วันทนี แสงคล้ายเจริญ. (2561). การศึกษาข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ในงานเขียนภาษาอังกฤษและกลยุทธ์ในการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 11 (3), 538-554.

สุภิชา ฤทธิวงศ์ และ อัญชลี ทองเอม. (2561). การพัฒนาชุดกิจกรรมแบบมุ่งปฏิบัติงาน (Task-based activities) เพื่อส่งเสริมการเขียนภาษาอังกฤษเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย. 6 (3), 501-516.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). หลากหลายวิธีการใช้ ICT เพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ.

องอาจ นามวงศ์. (2554). Active 3Ps : บทบาทการจัดการเรียนรู้ที่ครูควรเปลี่ยน. วารสารศึกษาศาสตร์. 34 (3-4), 1-9.

Brown. H.D. (2001). Teaching by Principles: An Interactive Approach to LanguagePedagogy (2nd Edition). New York: Addison Wesley Longman, Inc.

Cheung, A. (2021). Language Teaching during a Pandemic: A Case Study of Zoom Use by a Secondary ESL Teacher in Hong Kong. RELC Journal, 1-16. DOI: 10.1177/0033 688220981784

Corder, S. P. (1973). Introducing Applied Linguistics. Middlesex: Penquin.

Cross, C. T. & Goldberg, M. (2005). Time is a Resource We Still Haven't Figured Out How to Use Wisely. Retrieved 13 October 2020 from http://www.innovationlabs.com/new highschool/2006/reading%20materials/time_out.pdf

Duruk, E. & Paker, T. (2014). Vocabulary Deviations during Second Language Lexical Processing, International Journal of Liberal Arts and Social Science, 2 (8). 134-142.

Etisa, A. (2017). An Error Analysis in Using Prepositions of Place and Time By Seventh Grade Students of SMPN 10 Yogyakarta in the Academic Year 2016/2017. Yogyakarta: English Language Education Study Program Faculty of Teacher Training and Education University of PGRI Yogyakarta.

Hamdi, S. (2016). An analysis of lexical errors in the English compositions of EFL Tunisian learners. International Journal of Humanities and Cultural Studies, 2 (4), 643-652.

Haspelmath, M. (2009). Framework-Free Grammatical Theory. The Oxford Handbook of Linguistic Analysis edited by Bernd Heine & Heiko Narrog, Oxford University Press, Oxford, 378-589.

Hastomo, T. (2021). Video Conference in Teaching EFL: A Case Study of Using Zoom. LENTERA: Jurnal Ilmiah Kependidikan, 14 (1), 125-132.

Heaton, J. B. (1975). Writing English language tests: A practical guide for teachers of English as a second or foreign language. London: Longman.

Heemsoth, T., Heinze, A. (2014). The impact of incorrect examples on learning fractions: A field experiment with 6th grade students. Instr Sci, 42, 639–657.

James, C. (1998). Errors in Language learning and use: Exploring error analysis. New

York: Longman

Kadler, E.H. (1970). Linguistics and Teaching Foreign Language. New York: Van Nostrand Reinhold Company.

Lado, R. (1964). Language Teaching : A Scientific Approach. New York: McGraw-Hill, Inc.

Lee, I. (1997). ESL learners’ performance in error correction in writing: some implications for teaching. System, 25 (4), 465-477.

Llach, M. P. A. (2005a). The relationship of lexical error and their types to the quality of ESL composition: An empirical study. Porta Linguarum, 3, 45-47.

Lundstrom, K. & Baker, W. (2009). To give is better than to receive: The benefits of peer review to the reviewer’s own writing. Journal of Second Language Writing, 18, 30-43.

Muth’im, A. & Latief, M. A. (2014). The Effectiveness of Indirect Error Correction Feedback on the Quality of Students’ Writing. Arab World English Journal, 5 (2), 244-257.

Natjirath Boonrod, Nakonthep Tipayasuparat, and Pawarisorn Sornsilp. (2561). An error analysis of English writing of mathayom suksa 6 students : การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. 13 (2), 145-160.

Özışık, C. (2014). Identifying preposition errors of Turkish EFL students. International Association of Research in Foreign Language Education and Applied Linguistics ELT Research Journal, 3 (2), 59-69

Raimes, A. (1985). What unskilled ESL students do as they write: A classroom study of composing. TESOL Quarterly, 19 (2), 229-258.

Rivers, W.M. (1970). Teaching Foreign Language Skills. Chicago: The University of Chicago Press.

Salcedo, C.S. (2010). The Effects Of Songs In The Foreign Language Classroom On Text Recall, Delayed Text Recall And Involuntary Mental Rehearsal. Journal of College Teaching & Learning, 7 (6), 19-30.

Stewick, E. W. (1972). Language Learning Teaching and Learning English. London: Longman Group Limited.

Teba, S. C. (2017). Using Effective Strategies for Errors Correction in EFL Classes: A Case Study of Secondary Public Schools in Benin. Journal of Education and e-Learning Research, 4 (2), 63-71.

Torwong, P. (1995). Trends and issues in the teaching of EFL writing. Where shall we go?. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 22 (3), 111-122.

Wiriyachitra, A. (2002). English language teaching and learning in Thailand in this decade. Thai TESOL Focus, 15 (1), 4-9