การบริหารการนิเทศภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารการนิเทศภายใน และเปรียบเทียบการบริหารการนิเทศภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 จำแนกตามพื้นที่การจัดการศึกษา ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวน 294 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ ตามพื้นที่การจัดการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาระหว่าง 0.67-1.00 และความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่
ผลการวิจัย พบว่า
- การบริหารการนิเทศภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โดยภาพรวม มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยคือ ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านฐานะผู้นำ สำหรับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยคือ ด้านการสร้างขวัญของครู ด้านการจัดและดำเนินงานในหน่วยงาน และด้านการคัดเลือกและการใช้ประโยชน์บุคลากร
- การเปรียบเทียบการบริหารการนิเทศภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 จำแนกตามพื้นที่การจัดการศึกษา โดยภาพรวมพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
กฤษขจร ศรีถาวร. (2555). การบริหารการนิเทศภายในของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
บูซิตา จันทร์สิงค์โท, สุบัน มุขธระโกษา. (2560). บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, 4, 73-80.
เมธินี สะไร. (2560). การนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มสหพัฒนา อำเภอรือเสาะ สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
สุชาริณี ปั้นก้อน, ทศพล ธีฆะพร. (2561). การบริหารการนิเทศภายในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐานด้าน คุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13, 212-223.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน เพื่อการพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี. (2561ก). รายงานผลการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา 2560. กาญจนบุรี: ผู้แต่ง.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1. (2563). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. กาญจนบุรี: ผู้แต่ง.
อภิสรา กังสังข์. (2561). บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอ สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
Best, J. W. (1981). Research in education. New Jersey: Prentice-Hall.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.
Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.
Likert, R. (1967). The human organization: Its management and values. New York:
McGrew-Hill.
Wiles, K. (1983). Supervision for better school (3rd ed.). NewJersy: Prentice-Hall.
บูซิตา จันทร์สิงค์โท, สุบัน มุขธระโกษา. (2560). บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, 4, 73-80.
เมธินี สะไร. (2560). การนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มสหพัฒนา อำเภอรือเสาะ สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
สุชาริณี ปั้นก้อน, ทศพล ธีฆะพร. (2561). การบริหารการนิเทศภายในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐานด้าน คุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13, 212-223.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน เพื่อการพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี. (2561ก). รายงานผลการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา 2560. กาญจนบุรี: ผู้แต่ง.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1. (2563). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. กาญจนบุรี: ผู้แต่ง.
อภิสรา กังสังข์. (2561). บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอ สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
Best, J. W. (1981). Research in education. New Jersey: Prentice-Hall.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.
Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.
Likert, R. (1967). The human organization: Its management and values. New York:
McGrew-Hill.
Wiles, K. (1983). Supervision for better school (3rd ed.). NewJersy: Prentice-Hall.