การทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: เงื่อนไขและการป้องกัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีเป้าหมายในการสร้างเงื่อนไขและการป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากสถานการณ์ปัญหาการทุจริตที่สะท้อนให้เห็นถึงสาเหตุในการใช้อำนาจในทางที่ไม่ชอบธรรมของผู้บริหารในการแสวงหาประโยชน์ให้กับตนเองและพวกพ้องซึ่งเป็นความผิดทางราชการอย่างร้ายแรง ซึ่งจะทำให้การบริหารงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขาดประสิทธิภาพได้ ด้วยเหตุนี้ผู้เขียนจึงต้องการนำเสนอแนวทางที่เป็นเงื่อนไขในการป้องกันการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อใช้ในการบริหารจัดการที่จะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน สังคมและประเทศชาติ ต่อไป
Article Details
References
เกรียงไกร ปัญญาพงศธร. (2561). การคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย : ศึกษากรณี เทศบาลนคร. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า. 5 (1), 55-62.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2562). รายงานผลการศึกษา เรื่องการกล่าวหา การชี้มูลความผิด ข้อทักท้วงและพฤติกรรมการกระทำความผิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ผลิตเอกสาร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564). กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2563). มาตรการป้องกันการทุจริตเชิงนโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2561). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ. (2560). หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0809.2/ว 0975.กรุง เทพมหานคร: กระทรวงมหาดไทย.
ถวิล บุรีกุล และคณะ. (2559). การปฏิรูปประเทศไทยด้านการต่อต้านการทุจริตและการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.
ประเสริฐ สวนจันทร์. (2564). การพัฒนาระบบราชการ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/272435.
วชิรวัชร งามละม่อม. (2558). การบริหารภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM). กรุงเทพมหานคร: สถาบัน TDRM.
สถาบันพระปกเกล้า. (2557). ทศธรรม : ตัวชี้วัดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ลักษณ์.
สถาบันพระปกเกล้า. (2561). วัดระดับการบริหารจัดการที่ดี. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้าโดยการสนับสนุนของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2555). การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2561). การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
สัญญา เคณาภูมิ. (2559). กระบวนทัศน์ธรรมาภิบาล: กรอบแนวคิดทางการบริหารการปกครอง. วารสารวิถีสังคมมนุษย์. 4 (1), 217-248.