การบริหารงานบุคคลตามหลักฆราวาสธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสังเคราะห์แนวคิดการการบริหารงานบุคคลตามหลักฆราวาสธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโดยได้เห็นถึงความสำคัญของหลักฆราวาสธรรมที่จะส่งเสริมงานบริหารสถานศึกษาให้สัมฤทธิ์ผลดียิ่งขึ้นทั้งในด้านความสำเร็จของเนื้องานตามเป้าหมายทั้งได้รับความร่วมมือและการอยู่ร่วมกันอย่างอบอุ่นมีความสุขของทุกคนในองค์การตามเนื้อหา ดังนี้
หลักฆราวาสธรรม 4 ได้แก่ 1. สัจจะ หมายถึง ความจริงใจ การรักษาความสัตย์ การพูดจริงทำจริง 2. ทมะ หมายถึงการฝึกฝนตนเองและข่มใจตนเองทางด้านต่างๆ 3. ขันติ หมายถึง ความอดทนต่อความยากลำบากต่างๆทั้งทางร่างกายและจิตใจ 4. จาคะ หมายถึง ความเสียสละ มีจิตใจกว้างขวาง เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเกื้อกูล ไม่ตระหนี่เห็นแก่ตัว
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
ชาญชัย อาจินสมาจาร.(2551) ทฤษฎีการบริหารตามแนวคิดของปราชญ์ตะวันตก. กรุงเทพมหานคร : ปัญญาชน.
ติน ปรัชญพฤทธิ์.(2535). ศัพทรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
บุญทัน ดอกไธสง.(2537). การจัดองคการ. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหา จุฬาลง กรณราชวิทยาลัย.
ประยุทธ เจริญสวัสดิ์.(2540). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร : กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
ปราชญา กล้าผจัญ.(2537). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มิตรภาพการพิมพ์และสตูดิโอ.
พนัส หันนาคินทร์.(2547). หลักการบริหารโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วัฒนา พานิช.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).(2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว. วชิรเมธี).(2550). คนสำราญงานสำเร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพลับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน).
พะยอม วงศ์สารศรี.(2542). องค์กรและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : พรานนกการพิมพ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิทย์ วิศทเวส. ดร.“ธรรมะศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542.”บทความ.: http://www.moe. go.th. 9 กรกฎาคม 2555 .
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ.(2545). การบริหารเมืองหลวงและการบริหารทองถิ่น : สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุน และไทย. กรุงเทพมหานคร : โฟรเพซ.
วิโรจน์ สารรัตนะ.(2548). การบริหาร หลักการ ทฤษฎี และประเด็นทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ทิพย์วิสุทธิ์.
หวน พินธุพันธ์.(2549). การบริหารการศึกษา : นักบริหารมืออาชีพ. นนทบุรี : พินธุพันธ์ การ พิมพ์.
Peter F. Drucker.(2523). ดูรายละเอียดใน สมพงศ เกษมสิน. การบริหาร. กรุงเทพมหานคร : ไทย วัฒนาพานิช.
Simon. Herbert.a.(1996). Public Administration. New York : Alfreod A Kuopf.
ติน ปรัชญพฤทธิ์.(2535). ศัพทรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
บุญทัน ดอกไธสง.(2537). การจัดองคการ. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหา จุฬาลง กรณราชวิทยาลัย.
ประยุทธ เจริญสวัสดิ์.(2540). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร : กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
ปราชญา กล้าผจัญ.(2537). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มิตรภาพการพิมพ์และสตูดิโอ.
พนัส หันนาคินทร์.(2547). หลักการบริหารโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วัฒนา พานิช.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).(2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว. วชิรเมธี).(2550). คนสำราญงานสำเร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพลับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน).
พะยอม วงศ์สารศรี.(2542). องค์กรและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : พรานนกการพิมพ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิทย์ วิศทเวส. ดร.“ธรรมะศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542.”บทความ.: http://www.moe. go.th. 9 กรกฎาคม 2555 .
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ.(2545). การบริหารเมืองหลวงและการบริหารทองถิ่น : สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุน และไทย. กรุงเทพมหานคร : โฟรเพซ.
วิโรจน์ สารรัตนะ.(2548). การบริหาร หลักการ ทฤษฎี และประเด็นทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ทิพย์วิสุทธิ์.
หวน พินธุพันธ์.(2549). การบริหารการศึกษา : นักบริหารมืออาชีพ. นนทบุรี : พินธุพันธ์ การ พิมพ์.
Peter F. Drucker.(2523). ดูรายละเอียดใน สมพงศ เกษมสิน. การบริหาร. กรุงเทพมหานคร : ไทย วัฒนาพานิช.
Simon. Herbert.a.(1996). Public Administration. New York : Alfreod A Kuopf.